บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

วิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักและเข้าใจวิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้นกันนะครับ โดยที่วิธีการที่ผมนำมาแชร์กับเพื่อนๆ ในวันนี้เป็นวิธีการโดยประมาณ (APPROXIMATE METHOD) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นวิธีเชิงประสบการณ์ (EMPIRICAL METHOD) วิธีหนึ่งเพราะวิธีการนี้เป็นการดัดแปลงมาจากวิธีการออกแบบกำแพงรับแรง (BEARING WALL) เป็นหลักแต่ถูกทำการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับคุณลักษณะต่างๆ ของโครงสร้างโดมนั่นเองครับ ดังนั้นหากเพื่อนๆ สนใจที่จะเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านนี้จริงๆ ผมขอแนะนำให้เพื่อนๆ หา … Read More

วิศวกรรมแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อเนื่องจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการวิเคราะห์แรงต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว หรือ SEISMIC ANALYSIS นั้นจะแตกต่างไปจากการวิเคราะห์โครงสร้างเนื่องจาก นน บรรทุกประเภทอื่นๆ เช่น นน บรรทุกคงที่ นน บรรทุกจร นน บรรทุกแรงลม เป็นต้น สาเหตุเป็นเพราะว่าแรงกระทำที่เกิดจากแผ่นดินไหวนั้นจะทำให้อาคารเกิดการเคลื่อนที่ในรูปแบบวัฎจักร … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เป็นที่นิยมในงานต่อเติมอาคาร ต้องการตอกเสาเข็มที่สะดวกรวดเร็ว ไม่มีดินโคลน แนะนำ ตอกด้วยเสาเข็ม SPUN MICROPILE คุณภาพมาตรฐาน มอก. 397-2524 – เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้ โดยสืบเนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่องการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่นทั้งค่า Ksv และ Ksh สำหรับใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากมีฐานรากที่มีขนาดความกว้าง ยาว และ ลึก เท่ากับ … Read More

1 98 99 100 101 102 103 104 185