วิธีการเลือกใช้ขนาดความหนาของโครงสร้าง ที่ทำให้ลักษณะของโครงสร้างมีความเป็น RIGID BODY
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมยังจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนอยู่นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานว่าเมื่อวานนี้จะเป็นโพสต์สุดท้ายของการตอบคำถามแล้วแต่พอผมโพสต์ไปก็ได้มีโอกาสสนทนากับรุ่นน้องที่ถามผมปัญหาข้อนี้กับผม โดยที่มีใจความว่า “ขอบคุณพี่มากที่สละเวลาตอบคำถามของผม ตอนนี้ผมพอเข้าใจแล้ว ต่อไปผมจะระมัดระวังในการให้รายละเอียดต่างๆ ของจุดรองรับให้มีลักษณะที่ตรงตาม BOUNDARY CONDITIONS เพื่อไม่ให้เกิดผลใดๆ ต่อการวิเคราะห์โครงสร้าง ทีนี้ผมอยากจะถามเป็นคำถามสุดท้ายได้มั้ยพี่ ผมติดอยู่นิดเดียวตรงที่พี่แจ้งในข้อจำกัดในการใช้งานวิธีการ SIMPLIFY … Read More
สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า(ต่อ)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More
การประยุกต์ใช้สมการตั้งต้น เพื่อการหาค่าเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างหนึ่ง โดยจะใช้ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นโดยทำการอธิบายวิธีในการประยุกต์ใช้สมการตั้งต้นตามที่ผมได้อธิบายเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อน ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการหาค่าเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างหนึ่งๆ โดยการที่เราจะใช้ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM โดยจะขอเริ่มต้นดูจากรูปตัวอย่างโครงสร้างคานรับแรงดัดที่มีช่วงพาดอย่างง่ายหรือ SIMPLE BEAM BENDING ที่ได้แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More
วิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ วันนี้แอดมินจะนำวิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล มาให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้กันก่อนนะครับ วัสดุคอนกรีตเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติด้านความแข็งตัว (SOLID) ที่ค่อนข้างดีเพราะจะทำให้สามารถรับกำลังอัดที่เกิดขึ้นในหน้าตัดได้ดี แต่ ก็มีคุณสมบัติด้านความเปราะ (BRITTLE) ในตัวเองด้วยเช่นกัน ดังนั้นด้วยคุณสมบัติข้างต้นทำให้เมื่อทำการหล่อคอนกรีตจนคอนกรีตเริ่มที่จะแข็งตัวแล้ว … Read More