การดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้แอดมินจะมาเล่าให้ฟังถึงสมมติฐานถึงเรื่องการดัดของคานทั้งการเสียรูปแบบน้อย (SMALL DISPLACEMENT) และ แบบมาก (LARGE DISPLACEMENT) ให้เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ และสมมติฐานเหล่านี้จะใช้สำหรับการวิเคราะห์เฉพาะคานที่ทำขึ้นจากวัสดุที่มีพฤติกรรมความเป็นเชิงเส้น (LINEAR ELASTIC MATERIAL) เท่านั้นนะครับ (1) ระนาบของหน้าตัดคานยังคงอยุ่ในระนาบเดิมหลังจากเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งจากการดัด (ดูรูปประกอบนะครับ) (2) ระนาบยังคงตั้งฉากกับหน้าตัดตามแกนแนวยาวของคานที่พิจารณาก่อนเกิดการเปลี่ยนตำแหน่งเนื่องจากการดัด … Read More
ขั้นตอนการบ่มคอนกรีต หรือ CONCRETE CURING ด้วยน้ำยาเคมี
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ จะเห็นได้ว่าเป็นพื้นคอนกรีตที่ถูกห่อหุ้มเอาไว้ด้วยแผ่นพลาสติก ซึ่งผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ทุกคนมาช่วยกันคาดเดาว่าเพราะเหตุใดเค้าจึงต้องทำการหุ้มผิวคอนกรีตเอาไว้ด้วยแผ่นพลาสติกเช่นในรูปๆ นี้นะครับ ? คำตอบคือ ในรูปๆ … Read More
เสริมฐานรากภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
เสริมฐานรากภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) อาคารที่โครงสร้างมีน้ำหนักสูง ควรมีฐานรากที่มั่นคงและการรับน้ำหนักปลอดภัย ภูมิสยาม เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่ตอบโจทย์ในเรื่องของการรับน้ำหนัก เพราะถูกออกแบบมาให้สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) โดยเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง … Read More
การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ผมยังคงอยู่นอกสถานที่อยู่ ยังไม่สะดวกที่จะทำการอัดคลิปให้แก่เพื่อนๆ ผมจึงจะขออนุญาตที่จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ก่อนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้เราจะมาดูตัวอย่างง่ายๆ กันสักหนึ่งข้อเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือไม่โดยอาศัยการคำนวณจากค่า KERN POINT … Read More