บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากมีเพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาในอินบ็อกซ์เกี่ยวกับเรื่อง เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL) โดยมีรายละเอียดพอจับใจความได้ว่า “ผมมีความจำเป็นต้องเลือกใช้งานเคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล จึงอยากจะสอบถามผมว่าเราจะมีวิธีการคำนวณและดูค่าจากในตารางคู่มือการใช้งานว่า … Read More

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนให้เข้าใจถึงเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องค่า SPT-N ของฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION กับฐานรากแบบลึกหรือ DEEP FOUNDATION ว่าจะมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรไปแล้ว หลังจากนั้นก็มีน้องแฟนเพจท่านหนึ่งสอบถามเข้ามาโดยใจความของคำถามนั้นมีความต่อเนื่องจากเนื้อหาจากโพสต์ในสัปดาห์ก่อน … Read More

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) มีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 21, 25, 30 เซนติเมตร มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบผลิตโดยใช้กรรมวิธีการแรงเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง ทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงและเกิดรูกลมกลวงตรงกลางจากแรงเหวี่ยง จึงมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา ความหนาของเนื้อคอนกรีตอยู่ในช่วง 8-10 เซนติเมตร มีความยาวต่อท่อน … Read More

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST) คืออะไร??

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST) คืออะไร?? การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต ใช้เพื่อทดสอบหาค่าความข้นเหลวของคอนกรีตในสภาพเหลวโดยใช้วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว เพื่อตรวจสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีต (Workability) ค่ายุบตัวไม่ได้เป็นค่าที่วัดความสามารถเทได้ของคอนกรีตโดยตรง แต่เป็นการวัดความข้นเหลวของคอนกรีต (Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต (Flow Characteristic) แม้วิธีนี้จะไม่เหมาะสมสำหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแห้งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสำหรับการควบคุมความสม่ำเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีที่ค่ายุบตัวของคอนกรีตมีค่ามากกว่าปกติที่ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ … Read More

1 131 132 133 134 135 136 137 185