การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล อัตราส่วนของเหล็กเสริมในหน้าตัดคอนกรีต
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมมีข้อคิดสำคัญประการหนึ่งในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ อัตราส่วนของเหล็กเสริมในหน้าตัดคอนกรีตนั่นเองครับ เพื่อนๆ อาจจะเข้าใจว่าในโครงสร้าง คสล นั้นยิ่งเราเสริมเหล็กในปริมาณที่มากๆ ก็จะยิ่งดี ยิ่งจะทำให้โครงสร้างของเรานั้นมีความแข็งแรงในโครงสร้างมาก และ หากเพื่อนๆ ยังมีความเชื่อด้วยว่าหากทำการเสริมเหล็กในปริมาณที่ถือว่าน้อย จะเป็นการทำให้โครงสร้างนั้นอ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าที่ควร … Read More
เหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดของโครงสร้างเหล็กรูปพรรณมาทำการอธิบายให้กับเพื่อนๆ ได้ทำความเข้าใจกันไปแล้วว่าจะประกอบไปด้วยประเภทของเหล็กกี่ประเภท ก็มีคำถามเข้ามาจากน้องท่านหนึ่งในทำนองที่ว่า ยังไม่ค่อยเข้าใจความแตกต่างระหว่าง “โครงสร้างเหล็กเสริมที่ใช้ในงานวิศวกรรมคอนกรีตเสริมเหล็ก” กับ “โครงสร้างเหล็กรูปพรรณที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก” ผมจึงคิดว่า จะมาทำการอธิบายประเภทของเหล็กเสริมทั้ง 2 ชนิดนี้ให้แก่เพื่อนๆ … Read More
เกี่ยวกับบริษัท-มาตรฐาน มอก.
มาตรฐาน มอก. ใบอนุญาตแสดง เครื่องหมาย มอก. 397-2562 ใบอนุญาตแสดง เครื่องหมาย มอก. 396-2549
การเทลีน (LEAN CONCRETE) เรื่องพื้นฐานงานก่อสร้างที่ไม่ควรละเลย
เทลีนหรือการเทคอนกรีตเพื่อปรับผิวหน้าดิน นิยมทำเพื่อเตรียมพื้นที่ไว้รองรับการผูกเหล็กและการเทคอนกรีตในงานโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้สำหรับเทรองก้นหลุมป้องกันความสกปรกแก่คอนกรีตและเหล็กเสริม เช่น ดินโคลน น้ำใต้ดิน ช่วยให้ทำงานได้สะดวก ไม่เฉอะแฉะ การเทลีน (Lean Concrete) ยังช่วยให้ทำงานได้สะดวกขึ้นด้วย เช่นการผูกเหล็กเพื่อทำโครงสร้างมีระดับติดกับพื้นดินอย่างเช่นฐานรากหรือคานคอดิน เนื่องจากเหล็กเสริมควรจะมีคอนกรีตหุ้มอยู่ไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร เพื่อความแข็งแรงของโครงสร้าง และเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสนิมอีกด้วย