บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เครื่องวัดหน่วยความเครียด STRAIN GAUGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่จะทำหน้าที่สำคัญมากๆ เมื่อมีการทดลองทางด้านวิศวกรรม เจ้าอุปกรณ์นี้มีชื่อว่า STRAIN GAUGE นั่นเองนะครับ หากเราจะแปลความหมายของ … Read More

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ครับ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) นะครับ โดยในวันนี้ผมจะมทำการเฉลย QUIZ ข้อเมื่อวานที่ผมได้ถามเพื่อนๆ ไปนะครับ จริงๆ นี่เป็นครั้งแรกที่ผมเชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกัน ก็ไม่ทราบว่าผมตั้งคำถามยากเกินไปหรือเปล่านะครับ … Read More

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ | ภูมิสยามฯ ไมโครไพล์ เสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนที่ผ่านมานั้นผมเคยได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ มาช่วยกันพิสูจน์สมการในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของโครงสร้างคานรับแรงดัดกันไปแล้ว แต่ว่าในครั้งนั้นเป็นตอนก่อนที่ผมจะมีโอกาสได้แนะนำให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับ วิธีทฤษฏีที่ 2 ของคาสติเกลียโน่ หรือ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM แต่ในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนตงน่าที่จะมีความคุ้นเคยกับวิธีในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัดด้วยวิธีการนี้กันบ้างแล้ว ผมจึงอยากที่จะลองนำปัญหาข้อนี้มาถามเพื่อนๆ … Read More

1 134 135 136 137 138 139 140 185