โครงสร้างราวกันตก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หากเพื่อนๆ มีโอกาสได้เดินทางไปตามท้องถนนด้วยรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางในประเทศไทยก็ดีหรือในต่างประเทศก็ดี เวลาที่เราต้องเดินทางขึ้นไปบนสะพานหรือทางยกระดับต่างๆ เพื่อนๆ เคยสังเกตกันบ้างหรือไม่ว่า ราวกันตกที่ถูกทำการติดตั้งลงไปเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันการตกของรถยนต์นั้นจะสามารถแบ่งออกได้เป็นทั้งหมดกี่ประเภทด้วยกัน ? ราวกันตกที่ว่านี้ถือได้ว่าเป็นชิ้นส่วนโครงสร้างอย่างหนึ่งก็ได้เพราะชิ้นส่วนๆ นี้จะต้องทำหน้าที่รับแรงกระแทกจากตัวรถยนต์หรือยานพาหนะใดๆ ก็ตามที่อาจจะมีการสัญจรไปมาบนท้องถนน ซึ่งหากจะทำการจำแนกประเภทของโครงสร้างราวกันตกจริงๆ … Read More
เกี่ยวกับบริษัท-เทคโนโลยี
เทคโนโลยีการผลิตด้วยระบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมผสมคอนกรีตเดียวกันกับ SCG-CPAC มาตรฐาน Concrete Mix Design โดย SCG การชั้งตวง ซีเมนต์ หิน ทราย น้ำ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมผสมคอนกรีตเดียวกันกับ SCG-CPAC มาตรฐาน Concrete Mix … Read More
การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้ โดยสืบเนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่องการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่นทั้งค่า Ksv และ Ksh สำหรับใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากมีฐานรากที่มีขนาดความกว้าง ยาว และ ลึก เท่ากับ … Read More
การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น
การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดิน ในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น สำหรับฐานรากประเภทนี้ตัวโครงสร้างของฐานรากเองนั้นจะมีความยืดหยุ่นตัว หรือ สามารถที่จะมีการเคลื่อนตัวได้ หากทำการผนวกเอาวิชาทางด้านวิศวกรรมฐานรากตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ENGINEERING เข้ากันกับทฤษฎีของโครงสร้างหรือ THEORY OF STRUCTURES สามารถที่จะทำการแทนให้แรงปฏิกิริยา ณ จุดรองรับของฐานรากประเภทนี้อยู่ในรูปแบบของแรงลัพธ์ที่เกิดจากสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวหรือว่า ELASTIC SPRING ได้ ซึ่งแรงลัพธ์ของสปริงที่มีความยืดหยุ่นตัวนี้จะสามารถจำแนกออกได้เป็น … Read More