ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย ถึงความรู้พื้นฐานกันอีกสักเรื่องหนึ่ง ซึ่งวันนี้ผมคงจะโพสต์ต่อเนื่องเป็นเรื่องสุดท้ายละกันนะครับ ต่อไปหากมีหัวข้ออื่นๆ ที่น่าสนใจ ผมก็คงจะนำมาทยอยทบทวนให้แก่เพื่อนเรื่อยๆ นะครับ เรื่องในวันนี้ก็คือเรื่องปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงน้อยที่สุดในโครงสร้างรับแรงดัดนั่นเองครับ เพื่อนๆ คงจะทราบดีอยู่แล้วนะครับว่าปริมาณนี้จะมีค่าเท่ากับ As min = 14bd/fy เพื่อนๆ ทราบถึงที่มาที่ไปของสมการนี้กันหรือไม่ครับ ? … Read More
ต่อเติมโรงงานด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม ออกแบบฐานรากด้วยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
ต่อเติมโรงงานด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม ออกแบบฐานรากด้วยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ต่อเติมโรงงาน เพื่อยกระดับมาตรฐานความมั่นคงแข็งแรงให้กับฐานราก ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มชนิดนี้เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคารโรงงาน ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง ทางภูมิสยาม ดำเนินการตอกเสาเข็มด้วยทีมงานตอกมืออาชีพ พร้อมควบคุมดูแลงานโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ โดยปฏิบัติงานตามทุกขั้นตอนให้ได้มาตรฐานและความมั่นคงแข็งแรงสูงสุด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) … Read More
ต่อเติมอาคาร เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้หรือไม่??
ต่อเติมอาคาร เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้หรือไม่?? “เสาเข็ม” ถือเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะจะส่งผลถึงความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารในระยะยาว ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติมเสริมฐานรากอาคารบ้านเรือน เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้างได้ เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 และเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ถือเป็นเสาเข็มรูปแบบใหม่ ที่มีคุณภาพสูง มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ … Read More
ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ
ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ วันนี้ผมจะขอแทรกเนื้อหาการโพสต์ประจำวันด้วยปัญหาที่เพิ่งจะเกิดขึ้นเมื่อวานนี้กรณีหนึ่งที่บังเอิญว่ามีน้องบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาเพื่อปรึกษาเรื่องป้ายโฆษณาป้ายหนึ่งซึ่งมีความสูงจากพื้นดินประมาณ 7500 มม หรือ 7.50 เมตร พอผมได้เห็นลักษณะและรูปร่างจากรูปถ่ายแล้วก็เลยได้สอบถามไปยังน้องท่านนี้ถึงกรณีของจุดรองรับของโครงสร้างดังกล่าวว่ามีลักษณะเป็นเช่นใด คำตอบที่ได้ก็คือ เนื่องจากทางเจ้าของมีความเห็นว่าป้ายๆ นี้ไม่ได้มีความสูงอะไรมากมายนัก ซึ่งแน่นอนว่าน้ำหนักหรือแรงกระทำในแนวดิ่งเองก็มีค่าที่น้อยมากๆ เช่นเดียวกัน นั่นเลยเป็นเหตุให้ทางเจ้าของโครงสร้างของเฟรมเหล็กเฟรมนี้ไม่ได้ใส่ใจที่จะให้วิศวกรโครงสร้างหรือผู้ที่มีความรู้ทางด้านงานวิศวกรรมเป็นผู้ดำเนินการออกแบบและให้รายละเอียดในส่วนของงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่โครงสร้างๆ นี้ โดยจะเห็นได้ว่าจะไม่มีการทำโครงสร้างตอม่อ ฐานราก หรืองานเสาเข็มใดๆ เพื่อที่จะทำหน้าที่รองรับโครงสร้างเฟรมๆ นี้เลย … Read More