บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม เสาเข็มต่อเติมในพื้นที่จำกัด

เสาเข็ม SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม เสาเข็มต่อเติมในพื้นที่จำกัด เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ สามารถทำงานในที่แคบได้ เสาเข็มต่อเติมในพื้นที่จำกัด ตอกแล้ว หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-40 ตัน/ต้น … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรท่านหนึ่งที่เคยถามผมมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเรื่อง ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM) นั่นเองนะครับ โดยคำถามมีอยู่ว่า “ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ?” … Read More

วิธีการออกแบบและก่อสร้างชิ้นส่วน ซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่ โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมมีรูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งผมเชื่อเหลือกเกินว่าพอผมพูดเช่นนี้ คงจะมีเพื่อนๆ ไม่น้อยที่สงสัยและอยากรู้ว่าเจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติได้อย่างไรกัน ?   … Read More

1 155 156 157 158 159 160 161 185