แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆไป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ผมได้โพสต์เกี่ยวข้องกับเรื่องการใช้โปรแกรม ETABS และหลักการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเพื่อใสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำไปหลายวัน ซึ่งผมคิดว่ากลุ่มแฟนเพจของเราส่วนหนึ่งก็คงได้รับประโยชน์จากการโพสต์ของผมนะครับ ดังนั้นหากมีใครอ่านแล้วยังไม่เข้าใจในรายละเอียดส่วนไหนก็สามารถที่จะสอบถามเข้ามาได้นะครับ ยังไงผมจะค่อยๆ ทะยอยนำมาตอบให้ก็แล้วกันนะครับ และ นับจากวันนี้ไปก็คงจะเริ่มกลับเข้ามาสู่เรื่องราวและเกร็ดความรู้โดยทั่วๆ ไปที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานก่อสร้าง ซึ่งก็น่าที่จะมีความน่าสนใจสำหรับแฟนเพจกลุ่มใหญ่ของพวกเราต่อไปนะครับ โดยที่หัวข้อของความรู้ในวันนี้ที่ผมเลือกนำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนก็ได้แก่ แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆ ไปนั่นเองนะครับ แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปที่มีการใช้ในงานก่อสร้างโดยทั่วๆ ไปนั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ … Read More
วิธีการออกแบบและก่อสร้างชิ้นส่วน ซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่ โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักที่ถูกต้อง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมมีรูปภาพจริงๆ ของการที่ชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างหรือ LATERAL BRACING ให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักหรือ MAIN-TRUSS นั้นเกิดการวิบัติขึ้น ซึ่งผมเชื่อเหลือกเกินว่าพอผมพูดเช่นนี้ คงจะมีเพื่อนๆ ไม่น้อยที่สงสัยและอยากรู้ว่าเจ้าชิ้นส่วนซึ่งคอยทำหน้าที่ในการค้ำยันทางด้านข้างให้แก่โครงสร้างโครงถักเหล็กตัวหลักนี้เกิดการวิบัติได้อย่างไรกัน ? … Read More
การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE)
การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More
การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ผมยังคงอยู่นอกสถานที่อยู่ ยังไม่สะดวกที่จะทำการอัดคลิปให้แก่เพื่อนๆ ผมจึงจะขออนุญาตที่จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ก่อนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้เราจะมาดูตัวอย่างง่ายๆ กันสักหนึ่งข้อเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือไม่โดยอาศัยการคำนวณจากค่า KERN POINT … Read More