จะต่อเติมบ้าน เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติมป้องกันการทรุดตัว เหมาะสำหรับต่อเติมบ้านในพื้นที่แคบ
จะต่อเติมบ้าน เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติมป้องกันการทรุดตัว เหมาะสำหรับต่อเติมบ้านในพื้นที่แคบ ต่อเติมบ้านอย่างไรให้ไม่ทรุด? เลือกใช้เสาเข็มที่ป้องกันการทรุดตัวได้อย่างตรงจุดด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ หมดกังวลเรื่องการสั่นสะเทือน เพราะขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก และยังสามารถตอกชิดกำแพงหรือผนังได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม … Read More
จำนวนของเสาเข็มที่จะต้องใช้ในงานการก่อสร้างบ้านหรืออาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในฐานะที่ผมเป็นหนึ่งในทีมงานของแอดมิน คำถามๆ หนึ่งที่ผมมักจะสังเกตเห็นได้จากอินบ็อกซ์ของทางเพจซึ่งส่วนใหญ่แล้วบรรดาแฟนเพจเหล่านั้นก็มักที่จะเป็นผู้หญิงด้วย ตัวอย่างเช่น หากอยากที่จะทำการก่อสร้างหรือต่อเติมอาคารหรือบ้านเรือนซึ่งจะมีขนาดพื้นที่เท่ากับ ……………………. ตารางเมตรต่อชั้น ทั้งหมดจำนวน ……………………. ชั้น อยากจะทราบว่าจะต้องใช้เสาเข็มไมโครไพล์ทั้งหมดจำนวนกี่ต้นหรืออยากจะทราบว่าจะต้องใช้ความยาวของเสาเข็มไมโครไพล์เท่ากับเท่าใดกันแน่ เป็นต้น … Read More
ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ | ภูมิสยามฯ ไมโครไพล์ เสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนที่ผ่านมานั้นผมเคยได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ มาช่วยกันพิสูจน์สมการในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของโครงสร้างคานรับแรงดัดกันไปแล้ว แต่ว่าในครั้งนั้นเป็นตอนก่อนที่ผมจะมีโอกาสได้แนะนำให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับ วิธีทฤษฏีที่ 2 ของคาสติเกลียโน่ หรือ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM แต่ในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนตงน่าที่จะมีความคุ้นเคยกับวิธีในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัดด้วยวิธีการนี้กันบ้างแล้ว ผมจึงอยากที่จะลองนำปัญหาข้อนี้มาถามเพื่อนๆ … Read More
การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)
การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More