บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

วิธีในการอ่านค่าบนเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ จริงๆ แล้วเนื้อหาที่ผมจะนำมาใช้เพื่อเป็นการพูดคุยกับเพื่อนๆ ในวันนี้ดูจะไม่ค่อยมีความเกี่ยวข้องกับชื่อหัวข้อนี้สักเท่าไหร่แต่ผมคิดว่าเอามาพูดถึงสักหน่อยก็ดีเหมือนกัน น่าจะมีเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนได้รับประโนชน์นั่นก็คือ เมื่อเร็วๆ นี้ผมได้ไปทำการตรวจสอบรายการวัสดุเหล็กที่เข้ามาในไซต์งาน ซึ่งพอผมเห็นก็ขอให้ทาง ผรม เปิดใบเซอร์ของเหล็กชุดนี้ให้ดู หลังจากนั้นก็ได้ทำการนำเอา … Read More

สปันไมโครไพล์ ฐานรากมาตรฐานสูง ได้รับการรับรอง

สปันไมโครไพล์ ฐานรากมาตรฐานสูง ได้รับการรับรอง ต้องการฐานรากที่ต้องการมาตรฐานสูง แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile มาตรฐาน มอก. 397-2524 การตอกได้การรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 โดย ภูมิสยาม เสาเข็มภูมิสยาม มีความแข็งแกร่งสูงเพราะผ่านการ … Read More

ข้อควรพึงระวัง เมื่อเราต้องทำการเลือกใช้งานคอนกรีตสำหรับงานสลิปฟอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับคอนกรีตประเภทนี้อีกสักเล็กน้อย โดยเฉพาะประเด็นในเรื่องของข้อแนะนำและข้อควรพึงระวังเมื่อเราต้องเลือกใช้งานคอนกรีตสำหรับงานสลิปฟอร์มให้แก่เพื่อนๆ นะครับ   ผมได้ทำการสรุปข้อแนะนำและข้อควรพึงระวังเมื่อเราต้องทำการเลือกใช้งานคอนกรีตสำหรับงานสลิปฟอร์ออกมาทั้งหมด 5 ข้อใหญ่ๆ ดังนี้ครับ   … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมต้องขออนุญาตโพสต์ให้เกิดความต่อเนื่องจากเมื่อวานกันอีกสักหนึ่งโพสต์นะครับ เพราะว่าประเด็นที่ผมได้นำมาหยิบยกเป็นกรณีศึกษาเมื่อวานนี้ค่อนข้างที่จะมีความเร่งด่วนสำหรับน้องที่ได้มาปรึกษาผมถึงประเด็นปัญหาๆ นี้ ดังนั้นในวันนี้เรายังคงจะต้องพูดถึงเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ ยังไงผมต้องขออนุญาตทำการเท้าความโดยย่อสักเล็กน้อยก่อนนะครับ เผื่อว่าจะมีเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะไม่ได้มีโอกาสอ่านโพสต์ของเมื่อวานแต่ได้มาอ่านโพสต์ของผมในวันนี้ จะได้ไม่งงว่าเกิดอะไรขึ้น ซึ่งเรื่องมีอยู่ว่าน้องบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาเพื่อปรึกษาเรื่องป้ายโฆษณาป้ายหนึ่งซึ่งมีความสูงจากพื้นดินประมาณ 7500 มม หรือ 7.50 เมตร   พอผมได้เห็นลักษณะและรูปร่างจากรูปถ่ายแล้วก็เลยได้สอบถามไปยังน้องท่านนี้ถึงกรณีของจุดรองรับของโครงสร้างดังกล่าวว่ามีลักษณะเป็นเช่นใด … Read More

1 169 170 171 172 173 174 175 185