บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN Micropile) เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน มอก.397-2524 เหมาะสำหรับต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN Micropile) เสาเข็มคุณภาพ มาตรฐาน มอก.397-2524 เหมาะสำหรับต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน มั่นใจใช้เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์แท้โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีแบบธรรมดา สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ได้มาตรฐานตามหลักวิศวะกรรม ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic … Read More

เครื่องวัดหน่วยความเครียด STRAIN GAUGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่จะทำหน้าที่สำคัญมากๆ เมื่อมีการทดลองทางด้านวิศวกรรม เจ้าอุปกรณ์นี้มีชื่อว่า STRAIN GAUGE นั่นเองนะครับ หากเราจะแปลความหมายของ … Read More

ตอกเสาเข็มเพื่อรับพื้นโรงงาน หรือตอกเพื่อขยายโรงงาน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

ตอกเสาเข็มเพื่อรับพื้นโรงงาน หรือตอกเพื่อขยายโรงงาน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ต้องการเสาเข็มรับพื้นโรงงาน หรือตอกสร้างฐานรองรับเครื่องจักร เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การตอกได้มาตรฐาน ISO ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม เสาเข็มสปันที่แข็งแกร่งเป็นที่ยอมรับของบริษัทชั้นนำเลือกใช้ การรับน้ำหนักได้มาตรฐาน ตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยและไม่กระทบโครงสร้างเดิม ต้องการเสาเข็มคุณภาพ ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่องประเด็นการคำนวณหาค่าการโก่งตัวทางด้านข้างในอาคารสูงไป ปรากฎว่าได้รับผลการตอบรับค่อนข้างดีเลยนะครับ และ มีคำถามตามมาจากเพื่อนๆ ของผมด้วยว่า มีวิธีการโดยประมาณในการคำนวณหาค่า Δ ในแต่ละชั้นหรือไม่ครับ ? ผมขออนุญาตตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มีครับ … Read More

1 181 182 183 184 185