บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มเสริมฐานราก อาคารใหม่

สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มเสริมฐานราก อาคารใหม่ เสริมฐานรากอาคารใหม่ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 มีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่นจากการสปัน ทำให้มีความแข็งแกร่งสูง และสามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินดาน ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมากจึง ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม หรืออาคารใกล้เคียงสามารถทำงานในเมืองได้ ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง เหมาะกับพื้นที่ในเมือง เพื่อฐานรากที่มั่นคง ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ชุดยูนิฟอร์ม ภูมิสยามฯ วันนี้ เตรียมพร้อมสำหรับ ISO 45001:2018

ภูมิสยามฯ วันนี้ ยกระดับความปลอดภัยของทีมงานตอกเสาเข็ม ในชุดยูนิฟอร์ม ที่เป็นสากลเพื่อมาตรฐานความปลอดภัยที่สูงขึ้น และเตรียมพร้อมสำหรับ ISO 45001:2018 มาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและเป็นมาตรฐานในการทำงาน โดย ภูมิสยาม (Bhumisiam) ชื่อที่คุณไว้ใจ เสาเข็ม ภูมิสยามคุณภาพมาตรฐาน มอก. 397-2524 การตอกได้มาตรฐาน ISO … Read More

SPUN MICRO PILE เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้ ในการต่อเติมในอาคาร ที่ต้องการแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำลายโครงสร้างเดิม แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. และมาตรฐาน ISO

SPUN MICRO PILE เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้ ในการต่อเติมในอาคาร ที่ต้องการแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำลายโครงสร้างเดิม แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. และมาตรฐาน ISO บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand … Read More

วิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 77 ซึ่งจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องต่อเนื่องมาจากปัญหาข้อที่ 76 ที่ผมเคยได้นำมาอธิบายแก่เพื่อนๆ … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 185