บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

เรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงเรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ให้เพื่อนๆ ได้มีโอกาสรับทราบกันไปแล้ว รวมถึงเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผมยังได้ทำการหยิบยกเอาประเด็นเรื่องผลของระดับน้ำใต้ดินที่มีต่อค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินมาเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

ตอกเสาเข็มในอาคาร ในโรงงาน เพื่อขยายกิจการ แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

ตอกเสาเข็มในอาคาร ในโรงงาน เพื่อขยายกิจการ แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ต้องการตอกเสาเข็มในอาคาร รองรับรับน้ำหนักพื้น รองรับน้ำหนักเครื่องจักร เพื่อขยายกิจการ ขยายโรงงาน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เสาเข็มตอกปูพรมกันทรุด สามารถรับน้ำหนักได้หลายจุด ไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

สปันไมโครไพล์ เพิ่มโครงสร้าง ริมถนน สามารถตอกได้ Micro Pile Spun Micropile เสาเข็มสปันไมโครไพล์โดย ภูมิสยามฯ ISO: 9001-2015 และ ISO 45001-2018

ประกันผลงาน 7 ปี ไมโครไพล์ สปันไมโครไพล์ เพิ่มโครงสร้าง ริมถนน สามารถตอกได้ Micro Pile Spun Micropile เสาเข็มสปันไมโครไพล์โดย ภูมิสยามฯ ISO: 9001-2015 และ ISO 45001-2018 ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ฐานราก (FOOTING) แบ่งออกได้เป็นกี่ชนิด แต่ละชนิดมีอะไรบ้าง

ฐานราก (Footing) ทำหน้าที่รับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมดแล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่เสาเข็มหรือดินโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานรากควรมีความสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกได้โดยไม่เกิดการเคลื่อนตัวหรือพังทลายของดินใต้ฐานรากและต้องไม่เกิดการทรุดตัวลงมากจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ฐานราก ถูกแบ่งออกตามลักษณะได้ 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้น (Shallow Foundation) หรือแบบไม่มีเสาเข็มรองรับ หมายถึงฐานรากซึ่งลึกจากระดับผิวดินน้อยกว่า หรือเท่ากับด้านที่สั้นที่สุดของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อรองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื้นดินท่ีมีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้สูง และกับสภาพพื้นดินท่ีตอกเสาเข็มไม่ลงหรืออย่างยากลำบาก เช่น … Read More

1 36 37 38 39 40 41 42 185