บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็มในเมือง พื้นที่ไม่มาก แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam

ตอกเสาเข็มในเมือง พื้นที่ไม่มาก แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam https://www.facebook.com/bhumisiam ( ภูมิสยาม ไมโครไพล์ ) ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

ต่อเติมบ้านทั้งที ควรตอกเสาเข็มแบบไหน บ้านถึงจะไม่ทรุด??

ต่อเติมบ้านทั้งที ควรตอกเสาเข็มแบบไหน บ้านถึงจะไม่ทรุด?? เสาเข็มมีหลายประเภทตามการใช้งาน ในการต่อเติมบ้าน ควรเลือกใช้เสาเข็มที่เหมาะสมกับหน้างาน ที่สามารถเข้าตอกได้อย่างสะดวก และไม่ส่งผลกระทบต่อเพื่อนบ้านหรือพื้นที่ข้างเคียง เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มเพื่อการต่อเติมและป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้อย่างตรงจุด ตอบโจทย์การต่อเติมบ้านในเรื่องของการเข้าตอกในพื้นที่แคบหรือจำกัดได้อย่างสะดวก อีกทั้งขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ส่งผลกระทบที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ประหยัดเวลาในการติดตั้ง เรื่องสะอาด สะดวก และรวดเร็ว ต้องยกให้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More

ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ข่าว MGR Online

ข่าวประชาสัมพันธ์ ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ผุดโรงงานผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) คุณภาพอันดับ 1 ในเมืองไทย ชูนวัตกรรมการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน ภูมิสยามฯ ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอก … Read More

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST

การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม วิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ PARALLEL SEISMIC TEST ซึ่งการทดสอบหาค่าขนาดความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นจะต้องเริ่มต้นจากการที่เราจะต้องมีข้อมูลหรือหากไม่มีข้อมูลใดๆเลย ต้องทำการคาดเดาก่อนว่าเสาเข็มต้นที่เราต้องการจะทำการทดสอบนั้นจะมีความลึกประมาณเท่าใด หลังจากนั้นก็ให้ทำการสร้างหลุมเจาะขึ้นมาโดยให้อยู่ภายในรัศมีไม่เกินประมาณ 1500 มม. จากตำแหน่งของโครงสร้างเสาเข็มที่เราต้องการที่จะทำการทดสอบ ต่อมาเราจะอาศัยการส่งถ่ายสัญญาณในลักษณะคลื่นลงไป ซึ่งเราจะค่อยๆ ทำการส่งผ่านให้คลื่นดังกล่าวนั้นเดินทางลงไปในโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็มโดยที่เรามักจะใช้อุปกรณ์จำพวกค้อนกระแทกให้ทำหน้าที่เป็นตัวออกแรงกระแทกเพื่อที่จะได้ส่งสัญญาณคลื่นนี้ลงไป (โดยที่มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งว่า ด้านบนของโครงสร้างฐานรากหรือโครงสร้างเสาตอม่อนั้นจะต้องมีความต่อเนื่องกันกับโครงสร้างเสาเข็ม) … Read More

1 44 45 46 47 48 49 50 185