บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ที่มาที่ไปของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาระยะห่างมากที่สุดของการเสริมเหล็กปลอกที่ได้มีการระบุอยู่ในCODEของACI318

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ    สืบเนื่องจากเมื่อในช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามเข้ามาจากน้องผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่องการเสริมเหล็กปลอกในคาน โดยที่มีใจความของคำถามดังนี้ครับ   “อยากจะรบกวนให้พี่ช่วยตรวจสอบให้หนูหน่อยได้หรือไม่คะว่า REFERENCE CODE ACI318 ตามที่แสดงอยู่ใน SPREADSHEET ในรูปนี้ว่า ได้มีการระบุถึงเนื้อหาที่ได้ … Read More

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ พื้นที่เป็นน้ำ หรือ บนน้ำ ได้ไหมครับ ? รับน้ำหนักได้กี่ตัน

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ พื้นที่เป็นน้ำ หรือ บนน้ำ ได้ไหมครับ ? รับน้ำหนักได้กี่ตัน ตอกได้ครับ และต้องมีการสำรวจหน้างาน เพื่อว่างแผนด้วยครับ และ เสาเข็มยังสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตันต่อต้น ได้ โดยการทดสอบ Dynamic Load Test และเสาเข็ม … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเอาใจน้องๆ ที่เป็นนักศึกษาทางด้านสาขาวิศวกรรม เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยที่ผมจะมาแนะนำวิธีในการคำนวณหาค่าแรงดัดในโครงสร้างคานแบบที่สามารถคำนวณได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE BEAM) ไม่ว่าจะเป็นค่าบน … Read More

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เป็นการทดสอบที่ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์วัดสัญญาณ จะวัดสัญญาณและแสดงผลในรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงแรงเทียบกับเวลาและการเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลา โดยอุปกรณ์หลักจะประกอบไปด้วยหัววัดสัญญาณ … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 185