บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งหลังไมค์ถามแอดมินเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปอย่างไรบ้าง แอดมินเห็นว่ามีประโยชน์เลยจะมาขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับฟังกันในเพจนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นต้องขอเล่าให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้    อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

การทดสอบเสาเข็ม

การทดสอบเสาเข็ม ประเภทของการทดสอบเสาเข็มสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีการหลักๆ คือ 1. การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (PILE INTEGRITY TEST) โดยวิธี SEISMIC TEST ซึ่งข้อจำกัดของการทดสอบโดยวิธีนี้ คือ ใช้ได้เฉพาะกับ เสาเข็มเจาะ หรือ เสาเข็มตอกที่มีจำนวนท่อนเพียง 1 … Read More

วิธีการถ่ายแรงอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานกันสักนิดอีกสักโพสต์นะครับ ทั้งนี้เพื่อที่เพื่อนๆ จะได้มีความเข้าใจในเรื่องนี้ให้มากยิ่งขึ้น และ จะได้สามารถนำหลักการนี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในสถานการณ์จริงๆ นะครับ (รูปที่ 1) เรามาดู ตย ที่ผมเตรียมมาให้เพื่อนๆ ได้ดูกันในวันนี้เลยนะครับ เริ่มจากผมมีคานฝากซึ่งรับ CONCENTRATED LOAD ขนาด 10,000 kgf … Read More

ปัญหาทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องปัญหาทางด้านวิศวกรรมพลศาสตร์ ผมเห็นว่าเนื้อหาน่าสนใจดี จึงคิดว่าน่าจะมีประโยชน์หากผมมานำมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ด้วยนะครับ ก่อนอื่นผมขออธิบายเกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมพลศาสตร์กันสักเล็กน้อย จริงๆ เรื่องนี้วิศวกรอย่างเราๆ มักจะไม่มีความคุ้นเคยเท่าใดนัก อาจเป็นเพราะว่าสมมติฐานในการออกแบบโครงสร้างทั่วๆ ไปของเราจะอยู่บนหลักการของสถิตศาสตร์เสียเป็นส่วนใหญ่ ทำให้เมื่อต้องประสบปัญหาเชิงพลศาสตร์เพื่อนๆ ก็อาจจะมึนๆ งงๆ กันได้นะครับ แต่ ผมขอบอกเลยครับว่าเรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องยาก ยิ่งหากเรารู้จักพื้นฐานของหลักการทางพลศาสตร์แล้วจะยิ่งพบว่าหลักในการนำไปใช้นั้นค่อนข้างตรงไปตรงมามากๆ ครับ … Read More

1 48 49 50 51 52 53 54 185