ตอกเสาเข็มในเมือง พื้นที่ไม่มาก แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)
ตอกเสาเข็มในเมือง พื้นที่ไม่มาก แนะนำเสาเข็ม มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ทดสอบโดย … Read More
เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน??
เสาเข็ม มีความสำคัญกับการสร้างใหม่อย่างไร?? และควรเลือกใช้เสาเข็มแบบไหน?? ก่อนที่จะเริ่มการก่อสร้างทุกชนิด สิ่งแรกที่จะต้องเริ่มทำคือ การตอกเสาเข็ม เพราะเสาเข็มเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด ถ่ายเทลงสู่พื้นดิน โดยในการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ถึงชั้นดินทรายแข็ง เพราะเป็นชั้นที่สามารถรับน้ำหนักได้ดีที่สุด หากตอกลงไปไม่ถึงชั้นดินทรายนี้ อาจทำให้เกิดปัญหาการทรุดตัวได้ในอนาคต และในทุกการตอกเสาเข็มจะต้องมีการออกแบบและคำนวณความปลอดภัยของเสาเข็มโดยวิศวกรที่มีประสบการณ์ และเสาเข็มนั้นมีมากมายหลายประเภท ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือรูปแบบของการก่อสร้าง ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่เป็นได้มากกว่าการต่อเติม เพราะเป็นเสาเข็มที่มีความหนาแน่นสูง … Read More
เสาตอม่อ (GROUND COLUMN)
เสาตอม่อ (Ground Column) คือ เสาสั้นส่วนที่อยู่ล่างสุดระหว่างฐานรากกับคาน โดยทั่วไปเสาตอม่อจะจมอยู่ใต้ดิน ทำหน้าที่รับแรงอัดหรือน้ำหนักในทางดิ่ง แล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่ฐานรากและเสาเข็ม เสาตอม่อ จะเป็นเสาสั้นๆ ส่วนมากจะมีความสูงประมาณ 50-100 เซนติเมตร แต่เป็นเสาที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักของเสาที่อยู่ชั้นบน ขั้นตอนการก่อสร้างเสาตอม่อ เนื่องจากว่าเสาตอม่อนั้นจะวางอยู่บนฐานราก ดังนั้นจึงเริ่มจากงานฐานรากก่อน โดยในตอนก่อสร้างฐานรากนั้นจะต้องวางเหล็กเสริมเสาตอม่อไปพร้อมกับฐานราก และต้องตรวจสอบให้เสาตอม่ออยู่กึ่งกลางฐานราก … Read More
ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยได้ทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ ที่ใช้ทำการอธิบายว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการกำหนดให้มีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้าง ซึ่งรูปตัวอย่างในครั้งนั้นจะเป็นรูปที่แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นหนึ่งในอาคารหลังนี้ ซึ่งทางสถาปนิกผู้ทำการออกแบบงานสถาปัตยกรรมได้ทำการออกแบบโดยที่ได้กำหนดเอาไว้ว่า ให้ทำการจบผิวโดยรอบของโครงสร้างเสาคอนกรีตเสริมเหล็กต้นนี้ด้วยการกรุด้วยหินแกรนิต ซึ่งเราจะสามารถเห็นได้จากรูปว่าระยะจากผิวของโครงสร้างเสาออกมาจนถึงผิวที่อยู่ที่ขอบด้านนอกสุดของหินแกรนิต จะมีระยะทั้งหมดเท่ากับ … Read More