บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

อธิบายค่าต่างๆในสมการ การคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายค่าต่างๆ ในสมการข้างต้นพร้อมกับยก ตย ง่ายๆ ในการคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ เพื่อเป้กรไม่เสียเวลาเรามาเริ่มจากค่าแรกกันเลยครับ … Read More

สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam

สร้างอาคารใหม่ หรือ ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

เสริมฐานรากอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ภูมิสยาม เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม

เสริมฐานรากอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ภูมิสยาม เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม อาคารที่ผ่านการใช้งาน เมื่อเวลาผ่านไปโครงสร้างอาคารย่อมมีการเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา ควรมีการเสริมกำลังในการรับน้ำหนักของฐานราก เพื่อปรับปรุงโครงสร้าง และต้องอยู่ภายใต้การดูแลของวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งวิธีในการเสริมความแข็งแรงให้กับโครงสร้างและฐานราก อาจใช้ได้หลายวิธี ตามความเหมาะสม แต่วิธีที่ตอบโจทย์มากที่สุด เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตเลือกหัวข้อมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงจำพวกหนึ่ง ซึ่งก็คือ แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันแต่ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับรูปแบบของการวิบัตินี้กันสักเล็กน้อยนะครับ รูปแบบของการที่โครงสร้างเกิดการวิบัติแบบเจาะทะลุ มักจะเกิดขึ้นในโครงสร้างที่มีสัดส่วนความแข็งแรงของโครงสร้างทางด้านข้างที่น้อย (LOW … Read More

1 63 64 65 66 67 68 69 185