รถไฟฟ้าสายสีเขียวไว้วางใจ เสาเข็มภูมิสยาม ข่าวกรุงเทพธุรกิจ
รถไฟฟ้าสายสีเขียว วางใจ เสาเข็มภูมิสยาม นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 5 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับผู้บริหารและทีมวิศวกรจากบริษัทชั้นนำในวงการก่อสร้าง ได้แก่ อิตาเลี่ยนไทย ปูนซิเมนต์ไทย (เอสซีจี ) และซิก้า … Read More
การออกแบบวิศวกรรมโครงสร้างต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงเรื่องการคำนวณหา STIFFNESS MATRIX ของโครงสร้างต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นพื้นฐานให้แก่เพื่อนๆ เวลาที่ผมพาทำการแก้ปัญหาในการวิเคราะห์โครงสร้างของอาคารเมื่ออยู่อาคารนั้นๆ ตกอยู่ภายใต้แรงกระทำแบบพลศาสตร์นะครับ โดยในครั้งที่แล้วผมได้อธิบายจบไปแล้วถึงเรื่องที่มาที่ไปของ STIFFNESS MATRIX ของ BEAM ELEMENT … Read More
วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม(โดยการประมาณค่า) กรณีที่ต้องการจะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามกับผมมาเกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING นะครับ อย่างที่ผมเคยให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปก่อนหน้านี้นะครับว่า ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING … Read More
คุณสมบัติของชั้นดิน ณ ตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมมีความรู้หัวข้อสั้นๆ ต่อจากโพสต์เมื่อวานของผมซึ่งเรื่องนี้จะมีความเกี่ยวข้องและจะส่งผลโดยตรงต่อค่าความเร่งตอบสนองเชิงเสปคตรัมที่เราจะใช้ในการออกแบบอาคารของเรานะครับ เรื่องนี้ก็คือเรื่อง คุณสมบัติของชั้นดิน ณ ตำแหน่งที่ตั้งของอาคารของเรานั่นเองครับ โดยที่สภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ รอยเลื่อนที่มีกำลัง (ACTIVE … Read More