การแก้ไขรายละเอียดของหน้าตัดโครงสร้างเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปพบกับเทคนิคในการทำงานเทคนิคง่ายๆ เทคนิคหนึ่งที่เพื่อนๆ อาจจะได้ไปพบเจอตอนทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง ซึ่งเป็นประสบการณ์จริงๆ ของผมในอดีตงานหนึ่ง นั่นก็คือการแก้ไขรายละเอียดของหน้าตัดโครงสร้างเหล็กนั่นเองนะครับ   เรื่องมีอยู่ว่า ก่อนหน้าที่จะทำรายการคำนวณฉบับที่เห็นในโพสต์ๆ นี้ผมก็ทำการออกแบบโครงสร้างหน้าตัดเหล็กบนพื้นฐานของข้อมูลต่างๆ … Read More

วิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเริ่มต้นทำการให้คำแนะนำและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนให้ได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับวิธีในการคำนวณ ค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินของฐานรากแบบตื้น หรือ BEARING CAPACITY OF SOIL FOR SHALLOW FOUNDATION … Read More

ปัญหาของการทำงานติดตั้งสลักเกลียวฝังยึดเหล็ก ภายในโครงสร้างคอนกรีตที่ไม่เรียบร้อย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากเพื่อนๆ ยังจำกันได้ในหลายสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมเคยโพสต์เพื่อที่จะแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาของการทำงานติดตั้งสลักเกลียวฝังยึดเหล็กภายในโครงสร้างคอนกรีตที่ไม่ค่อยเรียบร้อยให้แก่เพื่อนๆ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตโพสต์สั้นๆ พร้อมกับนำรูป ตย ในการที่เราจะทำการเตรียมขั้นตอนของการทำงานติดตั้งสลักเกลียวฝังยึดเหล็กภายในโครงสร้างคอนกรีตให้ออกมาดีและเรียบร้อยให้แก่เพื่อนๆ บ้างนะครับ   จากรูปถือได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีมากๆ ในการทำงานการติดตั้งสลักเกลียวฝังยึดเหล็กภายในโครงสร้างคอนกรีต โดยหากเพื่อนๆ สังเกตดูจากรูปทั้ง 2 ก็จะพบว่า … Read More

การนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการแนะนำและให้คำอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับค่าๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ ค่าหนึ่งที่เราจะได้เมื่อเราทำการเจาะสำรวจดิน ค่าๆ นั้นก็คือค่าที่ได้จากการทำการทดสอบ STANDARD PENETRATION TEST นั่นเองนะครับ   … Read More

โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคาร ที่วางอยู่โดยตรงบนดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาเล่าปัญหาอย่างหนึ่งที่พวกเรามักจะเจออยู่กันเป็นประจำทุกครั้งที่ทำการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน จนในที่สุดบางคนก็เห็นจนเป็นเรื่องคุ้นชินกันไปซะแล้ว นั่นก็คือ การที่โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคารนั้นไม่ใช่โครงสร้างที่ฝากเอาไว้บนโครงสร้างที่มีเสาเข็ม แต่ เป็นโครงสร้างที่วางอยู่โดยตรงบนดิน และ โครงสร้างดังกล่าวเกิดการทรุดตัวลงไปจนทำให้ส่วนที่เป็นมุมทางเดินนั้นเกิดการแตกหรือหักลงไป นั่นเองนะครับ   กรณีมักจะเกิดขึ้นกับ บ้านเรือน หรือ อาคาร … Read More

หลักการในการออกแบบอาคารให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ วันนี้ผมอยากที่จะอธิบายถึงหัวข้อๆ ใหม่ซึ่งจะว่าด้วย หลักการในการออกแบบอาคารให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว แต่ ผมก็แอบกังวลว่าเมื่ออธิบายไปแล้วเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่เข้าใจความหมายหรือนิยามของคำศัพท์ที่ใช้ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาให้คำนิยามรวมถึงอธิบายความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ทั้งนี้ก็เพื่อเวลาที่ผมนั้นทำการอธิบายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องๆ นี้เพื่อนๆ จะได้มีความรู้และความเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นนะครับ   … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตโพสต์เนื้อหาต่อจากในสัปดาห์ที่แล้ว โดยที่ผมจะพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับปัญหาทั่วๆ ไปที่พวกเราทุกคนอาจจะมีโอกาสได้ไปพบเจอในการทำงานก่อสร้างจริงๆ เพราะทุกครั้งเมื่อเราพูดถึงปัญหาในการทำงานก่อสร้าง เราก็คงต้องยอมรับก่อนว่าในทุกๆ งานก่อสร้างย่อมต้องประสบพบเจอกับปัญหา ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งก็ตามแต่ ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีมก็ตามแต่ ไม่ว่าจะเป็นงานก่อสร้างที่เล็กหรือใหญ่ก็ตามแต่ เนื่องมาจากเพราะงานก่อสร้างจำเป็นที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กันกับกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ … Read More

เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ นั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้   ก่อนอื่นเรามาทวนกันสักนิดเกี่ยวกับเรื่องหลักของการทำ … Read More

การออกแบบโครงสร้าง เพื่อให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง คำที่เรามักจะได้ยินอยู่บ่อยๆ เวลาที่เรามีความเกี่ยวข้องกันกับการออกแบบโครงสร้างเพื่อที่จะให้สามารถต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้นะครับ   เริ่มต้นจากคำๆ แรกก็คือคำว่า “คาบการสั่น” หรือ “PERIOD” ซึ่งจริงๆ แล้วคำว่า “คาบการสั่น” ก็คือ ช่วงเวลาของแกว่งตัวไปแกว่งตัวกลับไปมาครบ … Read More

วิธีในอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูล ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมจะขอทำการแทรกเนื้อหาการนำผลการทดสอบดินที่ผมไปพบมาจากการทำงานจริงๆ ของผมมาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับ โครงการก่อสร้างแห่งนี้ตั้งอยู่ในบริเวณซอยของถนนรามคำแหง ซึ่งหากดูแบบหยาบๆ และผิวเผินแล้วก็อาจจะพบว่าสภาพของชั้นดินนั้นน่าที่จะมีความปกติเพราะดินเดิมนั้นเป็นดินที่มีอยู่เดิม และ จะมีส่วนดินใหม่ที่เปผ้นดินถมที่ผิวซึ่งมีความหนาประมาณ 1.5-2 ม … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 29