การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามที่เพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้ฝากคำถามกับผมไว้มาสักพักใหญ่แล้วโดยมีใจความของคำถามว่า “ ผมนึกไม่ออกจริงๆ เพราะเวลาคุยกับลูกค้า เราก็อยากที่จะแนะนำให้ลูกค้าใช้ระบบโครงสร้างพื้น คอร ผมจึงมีคำถามว่า หากว่าเราจะทำการยก ตย … Read More

อธิบายค่าต่างๆในสมการ การคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายค่าต่างๆ ในสมการข้างต้นพร้อมกับยก ตย ง่ายๆ ในการคำนวณหาค่าระยะค้ำยันทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนนะครับ เพื่อเป้กรไม่เสียเวลาเรามาเริ่มจากค่าแรกกันเลยครับ … Read More

การคำนวณหา ค่าสัมประสิทธิ์โมเมนต์ดัด หรือ BENDING MOMENT COEFFICIENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหา ค่าสัมประสิทธิ์โมเมนต์ดัด หรือ BENDING MOMENT COEFFICIENT ให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว … Read More

การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE SLUMP TEST)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมมีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการทำงานคอนกรีต แต่ ก็ถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ อย่างละเลยไม่ได้เลยนะครับ นั่นก็คือ การทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีต (CONCRETE … Read More

ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เพื่อนๆ คงจะเคยใช่หรือไม่ครับ ที่พยายามจะสื่อสารกับชาวต่างชาติเป็นภาษาอังกฤษแล้วแต่ทำอย่างไรก็ยังไม่สามารถที่จะสื่อสารกันได้เข้าใจสักที ? ดังนั้นในวันนี้ ผมจึงได้นำเอาประโยคหลายๆ ประโยคที่เพื่อนๆ จะสามารถนำมาใช้ในการสื่อสารกับชาวต่างชาติเมื่อเพื่อนๆ ต้องตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้นะครับ … Read More

ระบบของโครงสร้างที่นำมาใช้ในการก่อสร้างอาคารสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ   เมื่อวานนี้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้สอบถามผมว่า เค้าได้ไปเห็นในเพจๆ หนึ่งเกี่ยวกับเรื่อง ระบบของโครงสร้างที่นำมาใช้ในการก่อสร้างอาคารสูง จึงได้ฝากคำถามสั้นๆ มาว่า เพราะเหตุใดในการออกแบบเรามักจะพบว่ายิ่งอาคารมีความสูงมากเท่าใด กลับมีเสาภายใน (INTERIOR … Read More

การทำงานก่อสร้างจุดต่อระหว่างชิ้นส่วนโครงสร้างเสาเหล็ก (STEEL COLUMN) กับชิ้นส่วนจุดรองรับที่เป็นตอม่อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ ผมได้ทำการขออนุญาตทำการสมมติว่าเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็น ผู้ออกแบบ หรือ … Read More

เฉลยคำตอบ ในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   โดยหัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 284 คานกว้าง 25 ซม เสริมเหล็กรับแรงดึงที่ระยะ d = 40 ซม … Read More

เฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา REINFORCED CONCRETE DESIGN นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 192 ในการออกแบบฐานรากวางบนเสาเข็มตามรูป แรงอัดสูงสุดที่เสาเข็มต้องรับพิจารณาได้จากข้อใด เฉลย เทคนิคในการที่เราจะทำการแก้ปัญหาในวิชาการออกแบบโครงสร้างฐานรากวางบนเสาเข็ม คสล ที่ควรทำมีเทคนิคง่ายๆ ดังต่อไปนี้นะครับ อย่างแรกเลย คือ ดูเสียก่อนว่าลักษณะของฐานรากนั้นๆ มีสภาพความหนาเป็นไปตามสมมติฐานของ … Read More

“Post-“

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้เล่าให้ฟังถึงคำว่า “Pre-“ ไป วันนี้เราจะมาดูคำที่มีความหมาย “ตรงกันข้าม” กับคำๆ นี้กันดีกว่า นั่นก็คือคำว่า “Post-“ นั่นเองนะครับ … Read More

1 13 14 15 16 17 18 19 29