การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต “คานแคบ”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หากเพื่อนๆ ยังเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่ยังมีความคุ้นชินกับวิธีการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN) วันนี้ผมจะมาแนะนำให้ทุกๆ คนได้รู้จักกันกับคาน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการขยายความสั้นๆ เนื่องจากหลายเมื่อวันก่อนผมได้โพสต์ตอบคำถามที่ผมได้ตั้งเอาไว้เพื่อให้เพื่อนๆ ได้ร่วมสนุกไปด้วยกันเกี่ยวกับความรู้ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับ ค่าความแข็งแกร่งในสปริง และ มีรุ่นน้อง ป โท ที่บางมดของผมท่านหนึ่งได้โพสต์ตอบคำถามมาโดยเนื้อหาดังที่แสดงอยู่ในรูปในโพสต์ๆ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายต่อพร้อมกับยก ตย ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อถึงหัวข้อการวิเคราะห์โครงสร้างชนิด STATICALLY INDETERMINATE โดยทฤษฎี LEAST WORK นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะมายก ตย … Read More

การเลือกใช้งานวัสดุ เหล็กรูปพรรณกำลังสูง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการให้คำแนะนำแก่เพื่อนๆ ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกันกับงานออกแบบโครงสร้างเหล็กให้สามารถทำการก่อสร้างได้มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้นกว่าปกติ ซึ่งจริงๆ แล้วข้อแนะนำนี้เป็นทางเลือกเสียมากกว่าที่จะเป็นข้อบังคับทางการออกแบบนะครับ นั่นก็คือการที่ทางผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างนั้นเลือกใช้งานวัสดุ เหล็กรูปพรรณกำลังสูง นั่นเองนะครับ ตามปกติแล้วชั้นคุณภาพของเหล็กรูปพรรณที่มีการใช้งานโดยทั่วๆ ไปในปัจจุบันภายในประเทศไทยของเรานั้น เราจะถือได้เหล็กชนิดนี้นั้นเป็น … Read More

การใช้สารเคมีเข้าช่วยในการทำงานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? คือ เรามีโครงสร้างคอนกรีตเดิมอยู่ แต่ มีความจำเป็นที่จะต้องทำงานคอนกรีตใหม่ลงไปบนโครงสร้างคอนกรีตเดิมนี้ เช่น มีความจำเป็นที่จะต้องทำการแก้ไขงาน … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องการนำทฤษฎีเรื่อง INFLUENCE LINE มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างสะพาน ปรากฏว่ามีเพื่อนๆ หลายๆ ท่านให้ความสนใจ และ มีคำถามตามมาด้วยว่า อยากทราบวิธีในการสร้างตัวแผนภูมิ INFLUENCE … Read More

การนำทฤษฎีในเรื่อง เส้นอิทธิพล หรือ มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า INFLUENCE LINE มาใช้ในการออกแบบโครงสร้างสะพาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ โดยที่หัวข้อวันนี้จะค่อนข้างกระชับและสั้นๆ แต่ ก็ถือได้ว่าเป็นหลักการสำคัญมากๆ อย่างหนึ่งที่วิศวกรโครงสร้างสะพานนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างสะพาน นั่นก็คือการนำทฤษฎีในเรื่อง เส้นอิทธิพล หรือ มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า INFLUENCE LINE มาใช้ในการออกแบบโครงสร้างสะพานนะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของพี่ชายสุดที่รักของผมท่านหนึ่งที่เป็นวิศวกรเหมือนกันกับผม โดยที่ท่านได้ฝากคำถามเอาไว้ทางหลังไมค์ว่า “ดีนครับ ขอปรึกษาเรื่องฐานรากนะครับ พี่มีฐานรากขนาด 700×700 มม ความลึก 800 มม … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาเอาใจน้องๆ ที่เป็นนักศึกษาทางด้านสาขาวิศวกรรม เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยที่ผมจะมาแนะนำวิธีในการคำนวณหาค่าแรงดัดในโครงสร้างคานแบบที่สามารถคำนวณได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE BEAM) ไม่ว่าจะเป็นค่าบน … Read More

1 15 16 17 18 19 20 21 29