การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานผมโพสต์เกี่ยวกับเรื่องประเด็นการคำนวณหาค่าการโก่งตัวทางด้านข้างในอาคารสูงไป ปรากฎว่าได้รับผลการตอบรับค่อนข้างดีเลยนะครับ และ มีคำถามตามมาจากเพื่อนๆ ของผมด้วยว่า มีวิธีการโดยประมาณในการคำนวณหาค่า Δ ในแต่ละชั้นหรือไม่ครับ ? ผมขออนุญาตตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มีครับ … Read More

วันครูแห่งชาติ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในวันนี้ตรงกับวันครูแห่งชาติ ซึ่งจะตรงกับทุกๆ วันที่ 16 มกราคม ของทุกๆ ปี ซึ่งจุดประสงค์ในการมีวันครูแห่งชาตินี้ ก็เพื่อให้ผู้เป็นนักเรียนนักศึกษาได้รำลึกถึงพระคุณของผู่ที่เป็นครูบาอาจารย์ ผู้คอยทำหน้าที่แม่พิมพ์ และ พ่อพิมพ์ ของชาติที่ได้กระทำการอบรมสั่งสอนพวกเรามาตั้งแต่ยังเล็ก ทำให้พวกเรานั้นได้เป็นคนที่ดีของสังคมและยังรู้ศาสตร์ต่างๆ และให้เรามีทักษะวิชาทางด้านการทำงานต่างๆ ติดตัวเราไปตลอดด้วยนะครับ ดังนั้นจึงอาจจะสามารถถือได้ว่า ครู หรือ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดต่อถึงหัวข้อที่ (2) และ (3) ต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับ ก่อนอื่นผมขอทวนคำถามก่อนสักนิดนะครับ “ประเภทของโครงถักใดที่จะสามารถรับ นน ในแนวดิ่งได้ดีกว่ากัน … Read More

เหตุใด เสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามถึงใช้เป็น เหล็กปลอกเกลียว แทนที่จะใช้ เหล็กปลอกเดี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่ผ่านๆ มานั้นทางผมมักได้รับคำถามในทำนองนี้ค่อนข้างบ่อยเลยดีเดียว ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาตอบคำถามของบรรดาแฟนเพจกันสักเล็กน้อยในประเด็นที่ว่า “เหตุใด เหล็กปลอก ในเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามถึงได้ใช้เป็น เหล็กปลอกเกลียว แทนที่จะใช้ เหล็กปลอกเดี่ยว เหมือนในโครงสร้างเสาเข็มอื่นๆ ที่นิยมใช้กันโดยแพร่หลาย ?” ต้องขออนุญาตเรียนเพื่อนๆ ตามตรงว่าทุกครั้งที่เจอคำถามแบบนี้ผมจะค่อนข้างชอบมากๆ นะครับ เพราะ นั่นแสดงให้เราทราบว่าแฟนเพจของภูมิสยามนั้นมีความสนใจในตัวสินค้าของเราจริงๆ เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาไขข้อข้องใจให้เพื่อนๆ … Read More

โครงสร้างโครงถักเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “ในการออกแบบโครงสร้างโครงถักเหล็ก โครงสร้างที่เป็น BOTTOM CHORD ซึ่งทำหน้าที่ในการเป็น TENSION MEMBER ข้อจำกัดในการคำนวณค่าความยาวจากการคำนวณค่า BUCKLING เนื่องจากการ OUT OF PLANE ก็คือค่า kL/r = 300 ใช่ … Read More

ตัวเลขต่างๆ ใน FLEXIBILITY MATRIX มีที่มาที่ไปอย่างไร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานนี้หลังจากที่ผมสอบในวิชา NONLINEAR FINITE ELEMENTS FOR STRUCTURES เสร็จ ผมก็มีโอกาสได้ไปพบเจอกันกับรุ่นน้อง ป โท ท่านหนึ่งกำลังนั่งอ่านหนังสือ DYNAMICS OF STRUCTURES-THEORY ANDAPPLICATIONS TO EARTHQUAKE ENGINEERING … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ในการโพสต์ครั้งก่อนนี้ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ทุกคนรวมไปถึงเพื่อนที่เป็นสถาปนิกถึงเรื่อง ขนาดที่เหมาะสมของเสา ไปแล้วนะครับ ผมได้รับคำถามเพิ่มเติมมาอีกว่าอยากให้ผมนั้นให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ด้วยนะครับ หากเป็นเช่นนั้นผมก็ขอจัดให้ตามคำร้องขอเลยก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ดูรูปประกอบด้วยนะครับ โดยผมขอแบ่งประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) … Read More

แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ผมได้โพสต์เกี่ยวข้องกับเรื่องการใช้โปรแกรม ETABS และหลักการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเพื่อใสามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำไปหลายวัน ซึ่งผมคิดว่ากลุ่มแฟนเพจของเราส่วนหนึ่งก็คงได้รับประโยชน์จากการโพสต์ของผมนะครับ ดังนั้นหากมีใครอ่านแล้วยังไม่เข้าใจในรายละเอียดส่วนไหนก็สามารถที่จะสอบถามเข้ามาได้นะครับ ยังไงผมจะค่อยๆ ทะยอยนำมาตอบให้ก็แล้วกันนะครับ และ นับจากวันนี้ไปก็คงจะเริ่มกลับเข้ามาสู่เรื่องราวและเกร็ดความรู้โดยทั่วๆ ไปที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานก่อสร้าง ซึ่งก็น่าที่จะมีความน่าสนใจสำหรับแฟนเพจกลุ่มใหญ่ของพวกเราต่อไปนะครับ โดยที่หัวข้อของความรู้ในวันนี้ที่ผมเลือกนำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนก็ได้แก่ แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆ ไปนั่นเองนะครับ แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปที่มีการใช้ในงานก่อสร้างโดยทั่วๆ ไปนั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่ผมเป็นแอดมินของแฟนเพจของภูมิสยามมาสักพักหนึ่งแล้ว และ ผมมักที่จะสังเกตเห็นได้ว่าบ่อยครั้งเลยที่เพื่อนๆ ของเรามักจะทำการสอบถามเข้ามาหลังไมค์กับทางเพจก็คือ หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ? เพื่อเป็นข้อมูลแก่เพื่อนๆ ส่วนใหญ่ของเราในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ในประเด็นๆ นี้กันนะครับ ประการแรกนะครับ เพื่อนๆ ควรที่จะให้วิศวกรทำการคำนวณหา นน บรรทุกที่จะลงมายังเสาเข็มของเพื่อนๆ เสียก่อน ซึ่งโดยปกติแล้วหากเราจะทำการต่อเติมอาคารบ้านเรือนของเรา จะ 1 … Read More

รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันอีกครั้งหนึ่งโดยที่ในวันนี้ผมจะพูดเกี่ยวเนื่องกับประเภทของฐานรากที่ใช้เสาเข็มแค่เพียง 1 ต้น หรือ F1 กันบ้างนะครับ ในโพสต์ก่อนหน้านี้ของผมได้นำเสนอวิธีการเสริม เหล็กนอน (MAIN REIFORCEMENT STEEL) ในฐานราก … Read More

1 16 17 18 19 20 21 22 29