ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรท่านหนึ่งที่เคยถามผมมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับเรื่อง ระบบวิศวกรรมโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE SYSTEM) นั่นเองนะครับ โดยคำถามมีอยู่ว่า “ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ?” … Read More

การหาความเค้นดัดในคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ ถึงหัวข้อสำคัญในการพิจารณาเรื่อง MECHANICS OF MATERIALS นะครับนั่นก็คือหัวข้อ FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM นั่นเองนะครับ สาเหตุที่ผมหยิบยกเรื่องๆ นี้มาฝากแก่เพื่อนๆ เพราะว่าผมเห็นว่าในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างว่าโครงสร้างที่เรากำลังทำการพิจารณาอยู่นั้นมีคุณลักษณะทางด้าน เสถียรภาพ (STABILITY) และ ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั้นสามารถทำได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE) หรือ ต้องทำโดยวิธีอย่างยาก (INDETERMINATE) แก่เพื่อนๆ นะครับ โดยที่หัวข้อประเภทของโครงสร้างที่ผมตั้งใจนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ จะเป็นการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS) นั่นเองนะครับ ก่อนอื่นผมขออธิบายถึง สมการ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม(โดยการประมาณค่า) กรณีที่ต้องการจะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามกับผมมาเกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่า LATERAL STIFFNESS ในโครงสร้างเสาเข็ม (โดยการประมาณค่า) ในกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากโดยอาศัยเสาเข็มแบบ SOIL SPRING นะครับ อย่างที่ผมเคยให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปก่อนหน้านี้นะครับว่า ในทางทฤษฎีแล้วในการที่เราจะทำการจำลองให้เสาเข็มนั้นมีค่า LATERAL STIFFNESS สำหรับกรณีที่เราต้องการที่จะทำการออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีพฤติกรรมเป็น SOIL SPRING … Read More

ปัญหาที่มักจะเกิดในทุกๆ ครั้งที่เราทำการออกแบบและก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กโครงถัก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่ถามผมเกี่ยวกับโพสต์ก่อนหน้านี้ว่า “ในการออกแบบโครงเหล็กแบบนี้เรามักที่จะทำการตั้งสมมุติฐานว่าจุดต่อนั้นเป็นแบบยึดหมุน (PINNED) แต่ ในงานก่อสร้างจริงๆ เรามักจะทำการก่อสร้างโดยการเชื่อมโดยรอบ สิ่งนี้จะทำให้จุดต่อนั้นกลายเป็นแบบยึดแน่น (FIXED) หรือไม่ ?” และ อีกคำถามหนึ่งที่ถามในทำนองเดียวกันว่า “โครงถักในลักษณะนี้เวลาที่ทำการวิเคราะห์โครงสร้างเราจำเป็นที่ต้องทำการ RELEASE MOMENT ด้วยหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตกล่าวคำชมเชยน้องๆ … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า DEEP FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่หลายๆ วันที่ผ่านมานั้นมีหลายๆ ครั้งที่ผมพูดถึงและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่องงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION) และ ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) โดยที่ก่อนหน้านี้ผมไม่ได้ทำการอธิบายถึงเรื่องประเภทของระบบฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบก่อนนะครับ เอาเป็นว่าผมต้องขออภัยเพื่อนๆ มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า(ต่อ)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์และเล่าถึงประเด็นที่มีความสำคัญมากประการหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงกระทำทางด้านข้างแก่โครงสร้างของอาคารอันเนื่องมาจากแรงลมให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ หัวข้อนั้นก็คือ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ซึ่งเป็นรูปแบบการคำนวณแรงลมตามมาตรฐานฉบับใหม่ของกรมโยธาธิการและผังเมืองนะครับ โดยหากอ้างอิงตาม มยผ 1311-50 หรือ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารนะครับ หากเรามาดูสมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า … Read More

กำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้กล่าวถึงเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว และ ผมก็ได้รับคำถามจากน้องนักศึกษาที่กำลังเรียนอยู่ในสาขาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัสดุที่ใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างซึ่งจะต่อเนื่องมาจากเนื้อหาที่ผมได้โพสต์ไปแล้วนะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องกำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) กันบ้างนะครับ โดยเรื่องที่ผมจะมากล่าวถึงในวันนี้ก็คือ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด … Read More

ระบบฐานรากเป็นระบบเสาเข็ม (PILE FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาอธิบายต่อจากโพสต์เมื่อวาน โดยผมจะกล่าวถึงกรณีที่เราทำการใช้ระบบฐานรากเป็นระบบเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) แต่ว่าครั้งนี้ปลายของเสาเข็มนั้นจะวางอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงแทนนะครับ ก่อนอื่นเรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาให้เพื่อนๆ ได้ดูก่อนนะครับ โดยในรูปจะแสดงสภาวะต่างๆ ของดินเริ่มตั้งแต่ STAGE 1 ไปจนถึง STAGE 3 ในรูปแรกคือ STAGE 1 จะแสดงให้เห็นถึงสภาพของดินโดยทั่วๆ … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 29