สิ่งที่มักจะลืม ในการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ที่สำคัญประการหนึ่งที่วิศวกรออกแบบหลายๆ ท่านมักจะลืมเวลาที่ทำการออกแบบโครงหลังคา TRUSS เหล็ก นั่นก็คือเรื่อง BRACING นั่นเองครับ หากพิจารณาถึงเนื้อที่หน้าตัดของโครงสร้างที่มีขนาดเท่าๆ กันระหว่างวัสดุ คอนกรีต และ เหล็ก จะพบว่าวัสดุคอนกรีตนั้นจะมีความแข็งแรงที่น้อยกว่าโครงสร้างเหล็กอยู่ประมาณ 10 เท่านะครับ ดังนั้นหากเราทำการออกแบบโครงสร้างด้วยวัสดุที่เป็นเหล็ก เราจะพบว่าชิ้นส่วนของโครงสร้างที่ใช้ในองค์อาคารของเราจะมีขนาดที่ค่อนข้างเล็ก ทำให้โครงสร้างเหล็กนั้นจะมีสัดส่วนที่ค่อนข้างจะมีความชะลูดที่มากกว่าโครงสร้างคอนกรีต … Read More

แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ UPLIFT FORCE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องด้วยเมื่อวานนี้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่ง จริงๆ เรารู้จักกัน และ เป็นเพื่อนรักของผมมายาวนานมากตั้งแต่สมัยเรียน ปวช ที่ช่างมีน ท่านได้ทักมาหาผม และ ได้ขอคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบสระว่ายน้ำ ผมก็ได้ให้คำแนะนำไปตามที่เห็นสมควร พร้อมกับกำชับถึงสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ จะลืมไม่ได้เลย คือ ปัจจัยที่ผู้ออกแบบหลายๆ คนมักจะลืมคำนึงถึงในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสระว่ายน้ำก็คือเรื่อง แรงดันของน้ำใต้ดิน หรือ … Read More

เนื้อหาในระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิศวกรรมโครงสร้าง (STRUCTURAL ENGINEERING)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมมีเนื้อหาเบาๆ ที่เป็นประสบการณ์ตรงส่วนตัวของผมเองมาเล่าสู่กันฟังแก่เพื่อนๆ นะครับ เพราะ ผมคิดว่าเนื้อหาในวันนี้น่าที่จะเป็นประโยชน์ และ เป็นความรู้แก่เพื่อนๆ ที่อาจจะมีความสนใจอยากจะทราบว่าเนื้อหาในระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิศวกรรมโครงสร้าง (STRUCTURAL ENGINEERING) นั้นมีอะไรที่น่าจะนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานจริงๆ ได้บ้างนะครับ ก่อนอื่นผมต้องขอเรียนว่าหากใครที่ได้มีโอกาสเรียนในสาขาที่ขึ้นชื่อว่าเป็นงานวิศวกรรม (ENGINEERING) ในยุคปัจจุบัน หากว่าผม พูด หรือ เอ่ย … Read More

การใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วงนี้ผมได้มีโอกาสไปตรวจการทำงานของ ผรม ที่หน้างาน โดยในการทำงานของ ผรม นั้นมีการใช้งาน NON-SHRINK GROUT เพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตด้วยครับ ผมเห็นว่าหากนำความรู้เรื่องนี้มาเผยแพร่ ก็น่าที่จะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วัสดุนอนชริ้งเกร้าท์ หรือ NON-SHRINK GROUT ก็คือ วัสดุซีเมนต์ผสมพิเศษที่ให้ค่าการรับกำลังอัดที่สูงมาก … Read More

วิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักและเข้าใจวิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้นกันนะครับ โดยที่วิธีการที่ผมนำมาแชร์กับเพื่อนๆ ในวันนี้เป็นวิธีการโดยประมาณ (APPROXIMATE METHOD) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นวิธีเชิงประสบการณ์ (EMPIRICAL METHOD) วิธีหนึ่งเพราะวิธีการนี้เป็นการดัดแปลงมาจากวิธีการออกแบบกำแพงรับแรง (BEARING WALL) เป็นหลักแต่ถูกทำการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับคุณลักษณะต่างๆ ของโครงสร้างโดมนั่นเองครับ ดังนั้นหากเพื่อนๆ สนใจที่จะเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านนี้จริงๆ ผมขอแนะนำให้เพื่อนๆ หา … Read More

SUPERIMPOSED น้ำหนักที่เกิดขึ้นเพิ่มเติมจากน้ำหนักเดิมที่มีอยู่แล้ว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวานผมได้พักผ่อนกับลูกๆ ไปหนึ่งวันเต็มๆ วันนี้หายเหนื่อยจากการตรากตรำทำงานมานานได้ไปบ้างแล้วครับ วันนี้เลยขอกลับมาเจอกันกับเพื่อนๆ อีกเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมขอเริ่มต้นด้วยหัวข้อเบาๆ ละกันนะครับ แต่ ความรู้ที่เพื่อนๆ อาจจะได้จากโพสต์ๆ นี้น่าที่จะทำให้เพื่อนๆ เกิดความเข้าใจในเรื่องๆ นี้ได้มากยิ่งขึ้นนะครับ เพื่อนๆ คงเคยได้ยินหรือมีความคุ้นเคยกันแล้วนะครับถึงคำว่า นน บรรทุกคงที่ หรือ … Read More

หากเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS)

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ถามผมต่อเนื่องจากเรื่องราวของฐานรากแผ่ที่ผมเคยโพสต์ไว้สักพักแล้วนะครับว่า “หากเราเปลี่ยนจาก เสาตอม่อแบบเดียว (ISOLATED PIER) ไปเป็น เสาตอม่อกลุ่ม (GROUP OF PIERS) จะทำให้พฤติกรรมของฐานรากนี้เปลี่ยนไปหรือไม่ ? การออกแบบนั้นจะยุ่งยากเพิ่มขึ้นมากหรือไม่ และ เราควรพิจารณาทำการออกแบอย่างไรจึงจะเหมาะสม” ก่อนอื่นผมขอชื่นชมน้องท่านนี้ก่อนนะครับว่าคำถามๆ นี้เป็นคำถามที่ดีและน่าสนใจมาก … Read More

แรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้ที่เกี่ยวกับฐานรากแผ่ (BEARING FOOTING) ไปนะครับ ผลปรากฎว่ามีน้องวิศวกรที่ให้ความสนใจติดตามอ่านกันเยอะพอสมควรนะครับ และ มีคำถามตามมาหลายคำถามนะครับ ผมก็ได้ทะยอยตอบไปบ้างแล้ว วันนี้ผมจะตอบอีกหนึ่งคำถามที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการออกแบบฐานรากแผ่ที่มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้ติดตามและสอบถามผมมานะครับว่าอยากให้ผมแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องแรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING) นั่นเองครับ … Read More

คุณสมบัติของชั้นดิน ณ ตำแหน่งที่ตั้งของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมมีความรู้หัวข้อสั้นๆ ต่อจากโพสต์เมื่อวานของผมซึ่งเรื่องนี้จะมีความเกี่ยวข้องและจะส่งผลโดยตรงต่อค่าความเร่งตอบสนองเชิงเสปคตรัมที่เราจะใช้ในการออกแบบอาคารของเรานะครับ เรื่องนี้ก็คือเรื่อง คุณสมบัติของชั้นดิน ณ ตำแหน่งที่ตั้งของอาคารของเรานั่นเองครับ โดยที่สภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ รอยเลื่อนที่มีกำลัง (ACTIVE … Read More

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง TRANSPORTATION ENGINEERING วัสดุปิดผิว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง TRANSPORTATION ENGINEERING กันบ้างนะครับ นั่นก็คือเรื่องวัสดุปิดผิวที่จะต้องถือว่าเป็นวัสดุปิดผิวที่ใช้ในงานปิดผิวของงานทางประเภทหนึ่งนะครับ นั่นก็คือ ANTI SKID SURFACE นั่นเองครับ เพื่อนๆ อาจเคยมีโอกาสเดินทางไปสนามบินสุวรรณภูมิจากถนนเส้นมอเตอร์เวย์ และ บนถนนเพื่อนๆ อาจจะเห็นเจ้าสาร ANTI SKID SURFACE … Read More

1 18 19 20 21 22 23 24 29