การออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีสัดส่วนยื่น (CANTILEVER LENGTH) ที่ค่อนข้างมาก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากวันนี้ผมเห็นเพื่อนรุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพและรักมากท่านหนึ่งได้โพสต์เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีสัดส่วนยื่น (CANTILEVER LENGTH) ที่ค่อนข้างมาก ผมจึงได้แจ้งกับเค้าไปด้วยความเป็นห่วงถึงสิ่งที่ควรระมัดระวังในการออกแบบโครงสร้างในลักษณะแบบนี้ และ เห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยจึงใคร่ขอนำมาแชร์เป็นความรู้แก่ทุกๆ ท่านด้วยนะครับ จริงๆ แล้วในการออกแบบโครงสร้างที่มีช่วงยื่นมากๆ สิ่งที่จะต้องระมัดระวังนั้นมีหลายเรื่องมากๆ นะครับ เช่น ปัญหาเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้าง (STRUCTURAL STABILITY) เพราะ … Read More

วิธีการถ่ายแรงอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาขยายความต่อจากโพสต์เมื่อวานกันสักนิดอีกสักโพสต์นะครับ ทั้งนี้เพื่อที่เพื่อนๆ จะได้มีความเข้าใจในเรื่องนี้ให้มากยิ่งขึ้น และ จะได้สามารถนำหลักการนี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในสถานการณ์จริงๆ นะครับ (รูปที่ 1) เรามาดู ตย ที่ผมเตรียมมาให้เพื่อนๆ ได้ดูกันในวันนี้เลยนะครับ เริ่มจากผมมีคานฝากซึ่งรับ CONCENTRATED LOAD ขนาด 10,000 kgf … Read More

หากโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างไม่สามารถที่จะ ASSIGN เป็น SPRING ได้โดยตรงจะทำอย่างไร?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในหลายวันก่อนผมได้โพสต์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการจำลองโครงสร้างของเสาเข็มโดยใช้ CONCEPT ในการจำลองคุณสมบัติของชั้นดินต่างๆ เป็นแบบ SOIL SPRING ซึ่งกรณีนี้จะเหมาะสำหรับกรณีที่ดินนั้นค่อนข้างที่จะมีความอ่อนตัวมากนั่นเอง จากนั้นได้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องการจำลองฐานรองรับแบบ SPRING สำหรับการวิเคราะห์โครงสร้างแบบอื่นๆ บ้างละ หากโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างไม่สามารถที่จะ ASSIGN เป็น SPRING ได้โดยตรงจะทำอย่างไรครับ ? วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องท่านนี้ให้ได้ทราบกันนะครับ … Read More

คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน นักคณิตศาสตร์ แห่งศตวรรษที่ 18

สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้บุคคลคนที่สามที่ผมนำประวัติของท่านมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ที่เก่งมากอีกท่านหนึ่งแห่งศตวรรษที่ 18 เลยก็ว่าได้ครับ ที่สำคัญท่านเป็นบุคคลที่เป็นไอด้อลส่วนตัวของผม เพราะผมชื่นชอบในผลงานของบุคคลท่านนี้มากๆ เพราะไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีส่วนตัวของท่าน หรือ ทฤษฎีอื่นๆ ทีไ่ด้รับการต่อยอดสืบไปจากทฤษฎีของท่านก็ล้วนแล้วแต่มีความคลาสสิคในตัวของมันเองอย่างมากมายจริงๆ โดยที่บุคคลท่านนี้ก็คือ คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน … Read More

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ นักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ช่วงนี้ผมเพิ่งจะสอบ FINAL EXAM ของวิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS เสร็จไป เลยจะยังอินๆ กับเรื่องราวทางด้าน APPLIED MECHANICS มากหน่อย ผมเลยคิดว่าจะเป็นการดีหากผมทะยอยนำประวัติของบรรดานักปราชญ์ นักคณิตศาสตร์ และ … Read More

“THRUST LINE” สำหรับการออกแบบโครงสร้าง คอร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยบอกกับผมว่าอยากให้ผมขยายความเกี่ยวกับเรื่อง “THRUST LINE” สำหรับการออกแบบโครงสร้าง คอร ครับ ก่อนอื่นผมขอท้าวความให้แก่เพื่อนทั่วๆ ไปให้ได้ทราบก่อนนะครับ เพื่อนท่านอื่นๆ จะได้สามารถเข้าใจให้ตรงกันได้ เรื่องๆ นี้จะอยู่ในหัวข้อ CONTINUOUS MEMBER หรือ INDETERMINATE STRUCTURES สำหรับการออกแบบโครงสร้าง … Read More

วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึงอีกแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง เผื่อเพื่อนๆ ท่านใดสนใจข้อมูลในวันนี้ก็น่าที่จะมีประโยชน์นะครับ สาขาวิชานี้ก็คือ วิศวกรรมงานสะพาน หรือ BRIDGE ENGINEERING นั่นเองครับ เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะงงว่ามีวิชาแขนงนี้ด้วยหรือ ? ผมขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า มี ครับ เพราะในงานออกแบบของวิชาแขนงนี้ต้องอาศัยทั้ง … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ยุ่งอีกตามเคยนะครับ เลยมาพบเพื่อนๆ ช้าอีกหนึ่งวัน ก่อนที่ผมจะอธิบายต่อถึงขั้นตอนในการคำนวณค่า EFFECTIVE INERTIA อย่างที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ ไว้เมื่อวานนะครับ ในวันนี้ผมจะขอมาอธิบายเรื่องหลักการในการประเมินใช้ LOAD CASE สำหรับการคำนวณเรื่อง DEFLECTION เมื่อต้องตรวจสอบค่าการโก่งตัวของหน้าตัด คสล ที่ต้องรับแรงดัดก่อนจะดีกว่าครับ ทำไมผมถึงต้องอธิบายเรื่องนี้หรอครับ ? … Read More

วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้โปรแกรม STAAD.PRO

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเนื้อหาในโพสต์ของเมื่อวันก่อนนั้นค่อนข้างได้ครับความสนใจเป็นอย่างมากจากเพื่อนๆ และ หนึ่งในหลายๆ คำถามที่ผมได้รับ คือ หากเราจะนำวิธีการ Ksoil ไป APPLY ใช้ในโปรแกรมวิเคราะห์โครงสรางใดๆ ที่อาจมี หรือ ไม่มี SPRING SUPPORT จะได้หรือไม่ ? ผมขอตอบว่า … Read More

การคำนวณและ APPLY ใช้งานค่า SOIL SPRING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณและ APPLY ใช้งานค่า SOIL SPRING ต่อจากโพสต์เมื่อวานนะครับ โดยเนื้อหาในวันนี้ผมมองว่าน้อยครั้งมากๆ ที่จะมีอาจารย์หรือผู้รู้ท่านใดนำมาเผยแพร่และทำความเข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมต้องขอขอบพระคุณ ดร สมพร อรรถเศรณีวงศ์ มา ณ โอกาสนี้อีกครั้งนะครับที่ท่านได้ให้ความกรุณานำเนื้อหาส่วนนี้มาเผยแพร่แก่พวกเราทุกๆ นะครับ โดยเนื้อหาตรงนี้ผมต้องขอออกตัวไว้ก่อนนะครับว่าหลักการที่ท่านอาจารย์ได้อธิบายไว้นั้นเป็นหลักการที่จะสอดคล้องกับโปรแกรม MICROFEAP … Read More

1 19 20 21 22 23 24 25 29