ข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ   วันนี้แอดมินจะนำเรื่องข้อดี ข้อเสีย และ ประสิทธิภาพในการใช้งานระหว่างผนังก่อด้วย อิฐมอญ เปรียบเทียบกันกับ อิฐมวลเบา และ อิฐประเภทอื่นๆ มาฝากเพื่อนทุกๆ ท่านนะครับ เรามาเริ่มดูรายละเอียดของผนังก่อกันเลยนะครับ     ผนังก่ออิฐฉาบปูน เป็นผนังชนิดที่มีความแข็งแรง เนื่องจากน้ำหนักของตัวเองมีค่ามาก จึงต้องการโครงสร้างมารองรับ … Read More

วิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ วันนี้แอดมินจะนำวิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล มาให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้กันก่อนนะครับ     วัสดุคอนกรีตเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติด้านความแข็งตัว (SOLID) ที่ค่อนข้างดีเพราะจะทำให้สามารถรับกำลังอัดที่เกิดขึ้นในหน้าตัดได้ดี แต่ ก็มีคุณสมบัติด้านความเปราะ (BRITTLE) ในตัวเองด้วยเช่นกัน ดังนั้นด้วยคุณสมบัติข้างต้นทำให้เมื่อทำการหล่อคอนกรีตจนคอนกรีตเริ่มที่จะแข็งตัวแล้ว … Read More

การจำลองโครงสร้างจาก CONFIGURATION ของบันได

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  ในวันนี้ผมจะมาขยายความภาพๆ หนึ่งที่พวกเราหลายๆ คนคงจะพบเห็นได้บ่อยๆ ในหน้า ENGINEERING PAGE ต่างๆ มาสักพักแล้ว จะขาดไปก็เพียงแต่คำอรรถาธิบายถึงรายละเอียดต่างๆ ของภาพเท่านั้น ก็เหมือนเดิมนะครับ วันนี้ผมจะมาให้คำอธิบายเพิ่มเติมแก่เพื่อนๆ ให้ได้รับทราบกันนะครับ  (ในภาพ HAND OUT นี้ (รูปที่ … Read More

เครื่องวัดหน่วยความเครียด STRAIN GAUGE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่จะทำหน้าที่สำคัญมากๆ เมื่อมีการทดลองทางด้านวิศวกรรม เจ้าอุปกรณ์นี้มีชื่อว่า STRAIN GAUGE นั่นเองนะครับ หากเราจะแปลความหมายของ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์

สวัสดีครับแฟน ๆ ที่รักทุกท่าน  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการและวิธีการทางซอฟต์แวร์ (วิเคราะห์เชิงโครงสร้างด้วยวิธีการวิเคราะห์และ FEM) วันนี้ฉันจะตอบคำถามของรุ่นพี่วิศวกรที่รักและชอบมากการใช้ซอฟต์แวร์ทางการเงินที่มีอยู่ STAAD.PRO ว่าตามปกติแล้วเมื่อเรามีความต้องการที่จะหล่อจากแผ่นพื้นแบบหล่อในแผ่น ) จากนั้นยิงลงบนคานเราจะมีคำสั่งให้เราเลือกมากมายด้วยกันเช่นคำสั่งพื้นโหลดคำสั่งก่อนหน้า แต่ถ้าเราจะมีวิธีการส่งคำสั่งให้แก่เครื่องเก่า? เป็นคำถามที่น่าสนใจดีและหลาย ๆ คนก็เคยถามกันมานานแล้วว่าผมไม่เคยสงสัยมาก่อนหรือไม่ก็ต้องยอมรับว่าการออกมาจาก บริษัท เพื่อศึกษาต่อในระดับปริญญาโทที่บางมดทำให้ฉันมีความรู้สึก เข้าใจและสามารถแก้ปัญหาได้ในที่สุด จริงๆวิธีในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยกันหลายวิธี แต่ที่ฉันจะให้คำแนะนำในวันนี้จะมี … Read More

โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP

สวัสดีครับแฟน ๆ ที่รักทุกท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์ที่ผ่านมาวันนี้ผมได้มีโอกาสมาฟังการบรรยายของท่านอาจารย์ดร. สมพรธีระวงศ์โดยที่ในเอกสารการบรรยายที่อ่านแล้วก็พบว่าท่านได้ รวบรวมคำถามต่างๆที่มีความน่าสนใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการวิเคราะห์โครงสร้างเอาไว้ด้วยผมคิดว่าน่าจะเก็บไว้ได้ดี งและก็เหมือนเช่นเคยในทุกๆวันเสาร์แบบนี้ผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่าคำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมาก ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   เมื่อเราอาศัยโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP … Read More

ONE WAY SLAB ON BEAM | ภูมิสยามฯ ไมโครไพล์ เสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้แจ้งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหลังจากที่ผมได้แชร์ความรู้ในเรื่องหลักการหลักๆ ของเรื่อง แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM และ แผ่นพื้นวางบนคานแบบสองทางหรือ TWO … Read More

ความรู้ทางด้านการเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นง่ายมากๆ | ภูมิสยามฯ ไมโครไพล์ เสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนที่ผ่านมานั้นผมเคยได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ มาช่วยกันพิสูจน์สมการในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของโครงสร้างคานรับแรงดัดกันไปแล้ว แต่ว่าในครั้งนั้นเป็นตอนก่อนที่ผมจะมีโอกาสได้แนะนำให้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับ วิธีทฤษฏีที่ 2 ของคาสติเกลียโน่ หรือ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM แต่ในเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมเชื่อว่าเพื่อนๆ หลายๆ คนตงน่าที่จะมีความคุ้นเคยกับวิธีในการคำนวณหาค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัดด้วยวิธีการนี้กันบ้างแล้ว ผมจึงอยากที่จะลองนำปัญหาข้อนี้มาถามเพื่อนๆ … Read More

เรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ

เรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI | ไมโครไพล์ ภูมิสยามฯ   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงเรื่องค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ให้เพื่อนๆ ได้มีโอกาสรับทราบกันไปแล้ว รวมถึงเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาผมยังได้ทำการหยิบยกเอาประเด็นเรื่องผลของระดับน้ำใต้ดินที่มีต่อค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินมาเป็นคำถามประจำสัปดาห์ให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตเลือกหัวข้อมาอธิบายถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างคอนรีตให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงจำพวกหนึ่ง ซึ่งก็คือ แรงเฉือนทะลุ หรือ PUNCHING SHEAR ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันแต่ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับรูปแบบของการวิบัตินี้กันสักเล็กน้อยนะครับ รูปแบบของการที่โครงสร้างเกิดการวิบัติแบบเจาะทะลุ มักจะเกิดขึ้นในโครงสร้างที่มีสัดส่วนความแข็งแรงของโครงสร้างทางด้านข้างที่น้อย (LOW … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 29