ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไปเกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงที่ผมได้พักผ่อนอยู่บ้านจากสถานการณ์ไวรัสโควิด 19 ที่ผ่านมานี้ผมได้มีการพูดคุยสนทนาและแลกเปลี่ยนความรู้กันกับรุ่นน้องวิศวกรเครื่องกลท่านหนึ่งที่เพิ่งจบการศึกษามาได้ไม่นาน พวกเราก็ได้พูดคุยกันในหลายๆ ประเด็นเลย ซึ่งก็น่าจะเป็นการดีและมีประโยชน์ต่อการทำงานของน้องเค้าในอนาคตแต่แล้วก็มีคำถามๆ หนึ่งที่น้องเค้าได้สอบถามผมมา ซึ่งในตอนแรกผมก็นึกตลกในคำถามๆ นี้แต่พอคิดไปคิดมาก็เลยเข้าใจได้ว่า สาเหตุที่น้องท่านนี้ถามคำถามข้อนี้มาเพราะน้องเค้าเพิ่งจะเริ่มต้นอาชีพการเป็นวิศวกรมาได้ไม่นานเท่าใดนัก … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Global Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มเป็นเสาเข็มเดี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งเอาไว้กับเพื่อนๆ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็ม ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มเดี่ยวให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นวันนี้ผมจึงจะขอหยิบยกเอากรณีของการคำนวณจริงๆ ที่ผมเคยทำเอาไว้เพื่อที่จะใช้ในการตรวจสอบหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มมาใช้เป็นตัวอย่าง โดยผมขอสรุปปัญหาและข้อมูลให้เพื่อนๆ ได้ทราบดังต่อไปนี้นะครับ ผมมีเสาเข็มไมโครไพล์ต้นหนึ่งดังแสดงอยู่ในรูปที่ 1 ซึ่งเสาเข้มต้นนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ … Read More

ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว ของตัวเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในหลายๆ โพสต์ที่ผ่านมาที่เราพูดถึงโครงสร้างเสาเข็มแบบกลุ่มหรือ PILE GROUP เราได้ทำการพูดและพิจารณาถึงเฉพาะ “ค่าความสามารถในการรับกำลัง” ของตัวเสาเข็มกลุ่มเพียงเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้เกิดความครบถ้วนในเรื่องๆ นี้จริงๆ ผมจำเป็นที่จะต้องพูดถึงถึง “ค่าความสามารถในการต้านทานการทรุดตัว” ของตัวเสาเข็มกลุ่มด้วยนะครับ … Read More

แนวจุดศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ โพสต์ในวันนี้จริงๆ แล้วมีความเกี่ยวข้องกันกับโพสต์ที่ผมได้ทำการอธิบายแก่น้องผู้หญิงท่านหนึ่งไปเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนเกี่ยวกับเรื่อง การโก่งตัวของโครงสร้างคานรับแรงดัด ประกอบกับการที่ก่อนหน้านี้ผมเคยได้รับคำถามในทำนองนี้เข้ามาหลายครั้งแล้ว ซึ่งผมทำการสรุปใจความของคำถามข้อนี้ออกได้ดังนี้ หากเราเป็น “วิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง” หรือ “วิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานก่อสร้าง” หากเราจะต้องทำการวางโครงสร้างแปเหล็กไปบนโครงสร้างโครงถักที่อยู่ในระนาบเอียงตามในรูป สำหรับในกรณีที่เราไม่สามารถที่จะใช้หน้าตัดของโครงสร้างแปเหล็กให้เป็นแบบ “หน้าตัดแบบปิด” … Read More

วิศวกรรมงานฐานรากงานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้ในหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ” โดยที่หัวข้อของวิทยาการในการคำนวณในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม นะครับ เนื่องจากผมยังค้างเพื่อนๆ ถึงการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่มาที่ไปของวิธีในการคำนวณหาค่า Kr1 ค่า Kr2 และค่า Ka โดยการประมาณการค่าตามเนื้อหาที่ผมได้อธิบายไปแล้วในโพสต์ของเมื่อวานนี้ ผมเลยมีความคิดว่าไหนๆ ก็ไหนๆ แล้วเรามาอธิบายให้จบกันไปเลยจะดีกว่า … Read More

หลักการในการเลือกเหล็กยืนในหน้าตัดโครงสร้างเสาที่ดี เพื่อใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นยังคงมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ และก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หน้าตัดของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กดังที่ได้แสดงอยู่ในรูปของโพสต์ๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หน้าตัดทั้งสามนี้จะมีทุกๆ อย่างที่เหมือนกันหมดเลย เช่น กำลังของวัสดุคอนกรีต … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าการโก่งตัวค่าสูงสุดของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้แจ้งไปในสัปดาห์ที่แล้วว่า ในสัปดาห์นี้ผมจะมาทำการพูดถึงการใช้งาน แผนภูมิปฏิสัมพันธ์ หรือ INTERACTION GRAPH ในการคำนวณหาว่า เมื่อโครงสร้างเสาเข็มของเราจะต้องรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL LOAD … Read More

วิธีในการคำนวณหาระยะที่จะเกิดการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่งที่มีค่ามากที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่งมากที่สุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DISPLACEMENT ภายในโครงสร้างคานที่มีลักษณะเป็นแบบช่วงเดียวหรือ SIMPLE BEAM โดยที่ในปัญหาข้อนั้นผมได้อ้างอิงถึง “ตำแหน่ง” ที่จะเกิดค่าดังกล่าวว่าจะอยู่ที่ระยะ “3.085 … Read More

การหาคำนวณหาว่าตำแหน่งใดที่จะเกิดค่าการเสียรูปสูงที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้นำเอาตารางที่แสดงถึงค่าของการเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างคานรับแรงดัดมาฝากให้แก่เพื่อนๆ ไปเนื่องจากได้มีน้องผู้หญิงท่านหนึ่งที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 3 ในสาขาวิศวกรรมโยธา โดยที่ตอนนี้น้องกำลังเรียนวิชาการออกแบบโครงสร้างเหล็กหรือ STRUCTURAL STEEL DESIGN โดยที่ใจความของปัญหานั้นมีดังนี้ครับ “หนูเคยเห็นเวลาที่พี่ยกตัวอย่างถึงการคำนวณในเรื่องของคานรับแรงดัด พี่จะพูดและยกตัวอย่างอยู่เสมอว่าให้ทำการตรวจสอบเรื่องแรงเค้นดัดที่ยอมให้ควบคู่ไปกับการตรวจสอบค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัดเสมอ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 29